แรงจูงใจที่ทำให้กลายเป็นแกล - คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปริญญานิพนธ์
เรื่อง
แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล
(ギャルになる動機)
โดย
นางสาว นภัส ชาสมบัติ
รหัส ๕๑๐๑๑๐๓๙๖
เสนอ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ เบญจางค์ ใจใส
อาจารย์ ยูอิจิ คนโนะ
ปริญญานิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของกระบวนวิชา ๐๑๘๔๙๙
(Seminar in Japanese Studies)
ประจาปีการศึกษาที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๕
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ
ปริญญานิพนธ์เรื่อง แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล ฉบับนี้ มีที่มาของปัญหาการวิจัยคือ ผู้ศึกษาได้
ไปศึกษาแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่มหาลัยแห่งหนึ่งในกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นเมื่อปี2012 ผู้ศึกษาได้พบ
เห็นกลุ่มคนกลุ่มหนึ่งที่มีลักษณะเด่นทางแฟชั่นอย่างมาก เป็นที่ดึงดูดสายตาแก่ผู้คนทั่วไป กลุ่มคนกลุ่มนั้น
เรียกว่า แกล ซึ่งแฟชั่นของเหล่าแกลนั้นมีทั้งลักษณะที่ดูสะดุดตา และแปลกจากคนทั่วไป เป็นการแต่ง
เสริมเติมแต่งจนเกินพอดีบนร่างกาย อีกทั้งยังมีการแสดงพฤติกรรมที่ดูไม่เหมาะสมในบางครั้งจากผู้คน ซึ่ง
ทั้ง ๆที่ภาพลักษณ์และพฤติกรรมของแกลนั้นไม่ได้เป็นสิ่งที่น่าชื่นชมในสังคมญี่ปุ่น แต่ผู้ศึกษาก็มักพบเห็น
เหล่าแกลมากมายตามแหล่งแฟชั่นชื่อดังในโตเกียว ผู้ศึกษาจึงจะทาการวิเคราะห์ถึงแฟชั่นของแกลแต่ละ
ประเภท และวิเคราะห์หาแรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกลของเด็กญี่ปุ่น โดยจะศึกษาจากแกลที่เกิดขึ้นตั้งแต่
ปี 1990 ถึงปัจจุบัน และมีลักษณะเด่นทางแฟชั่นที่เห็นได้ชัด แล้วใช้ทฤษฎีด้านสังคมวิทยาที่ชื่อว่า
EXCORPORATION ของนักสังคมวิทยา JOHN FISKE มาใช้วิเคราะห์หาแรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล
ของเด็กสาวญี่ปุ่น โดยรายละเอียดนั้นจะกล่าวต่อไปในส่วนของเนื้อหาการวิจัย
คำนำ
ปริญญานิพนธ์ เรื่อง แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล ฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อนเป็นส่วนหนึ่งของ
การศึกษาวิชา Seminar in Japanese รหัสวิชา 018499 ซึ่งผู้วิจัยได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับแกล ทั้งข้อมูลทั่วไป
เกี่ยวกับแกล ลักษณะของแกลแต่ละประเภท พฤติกรรมของแกล และสิ่งที่แกลให้ความสนใจ ตลอดจน
ศึกษาลักษณะเด่นของแกล แล้วทาการวิเคราะห์แฟชั่นของแกลตามหลักทฤษฎีทางสังคมวิทยา
Excorporation ของนักสังคมวิทยาชื่อ John Fiske แล้วนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ เพื่อหาข้อสรุปเกี่ยวกับ
แรงจูงใจที่ทาให้เด็กสาวญี่ปุ่นกลายเป็นแกล ซึ่งผู้วิจัยหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อตนเอง ผู้ที่มีความสนใจต่อวัฒนธรรมญี่ปุ่น ผู้ต้องการศึกษาด้านวัฒนธรรมญี่ปุ่นต่ อไป รวมถึง
ผู้ที่ต้องการหาความรู้เพิ่มเติมให้แก่ตนเองด้วย
ในการศึกษารายวิชานี้ทาให้ข้าพเจ้าได้ฝึกฝนการค้นหาข้อมูล และนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์หา
ข้อสรุปของงานวิจัย ทาให้ข้าพเจ้าสามารถเรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการศึกษาค้นหาข้อมูล และได้ฝึกการ
วิเคราะห์ข้อมูล อันทาให้ข้าพเจ้าได้มีความรู้เพิ่มพูน และมีทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มมากขึ้น
ในการทาปริญญานิพนธ์ฉบับนี้ ข้าพเจ้าได้รับความอนุเคราะห์จากคณาจารย์ และเพื่อนชาวไทย
และชาวญี่ปุ่นเป็นอย่างดี ทาให้ข้าพเจ้าสามารถได้รับข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่องานวิจัย และทางานวิจัยฉบับ
นี้ขึ้นมาได้ จึงขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ด้วย
นภัส ชาสมบัติ
18 กุมภาพันธ์ 2556
สารบัญ
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข
สารบัญ (ภาษาญี่ปุ่น)
ค
บทที่ 1 บทนา
1
1.1. ที่มาและปัญหาในการศึกษา
1
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1
1.3 ขอบเขตของการศึกษา
2
1.4 คาถามในการศึกษา
2
1.5 วิธีการศึกษา
2
บทที่ 2 ทบทวนวรรณากรรม
3
2.1 ที่มาของคาว่าแกล
3
2.2 ประวัติเกี่ยวกับแกล
3
2.3 ประเภทของแกล
4
2.4 การใช้ชีวิตและพฤติกรรมของแกล
8
2.5 ภาษาแกล
9
2.6 สิ่งที่แกลให้ความสนใจ
10
บทที่ 3 เกี่ยวกับทฤษฎี EXCORPORATION และผู้คิดค้นทฤษฎี
12
3.1 ผู้คิดค้นทฤษฎี
12
3.2 ความหมายของ INCORPORATION และ EXCORPORATION
13
3.3 แนวทฤษฎี EXCORPORATION
14
3.4 ตัวอย่างทฤษฎี EXCORPORATION
14
บทที่ 4 การวิเคราะห์
15
4.1 วิเคราะห์แฟชั่นของแกลแต่ละประเภท
15
4.2 วิเคราะห์จุดร่วมแฟชั่นของแกล
19
4.3 วิเคราะห์แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล
19
บทที่ 5 สรุปและข้อเสนอแนะ
20
5.1 สรุป
20
5.2 ข้อเสนอแนะ
20
บรรณานุกรม
33
目次
第 1 章 序章
1.1 研究動機.............................................................21
1.2 研究目的.............................................................21
1.3 研究範囲.............................................................21
1.4 研究課題............................................................ 21
1.5 データ提示...........................................................22
第 2 章:先行研究
2.1 ギャルの定義........................................................ 23
2.2 ギャルの歴史........................................................23
2.3 ギャルの種類........................................................ 23
2.4 ギャルの生活と行動.................................................. 24
2.5 ギャルの言葉........................................................ 24
2.6 ギャルの興味があること..............................................25
第 3 章:Excorporation 理論と社会学者 John Fiske について
3.1 社会学者 John Fiske について.......................................26
3.2 Incorporation と
Excorporation の意味............................. 26
3.3 Excorporation 理論について......................................... 27
3.4 Excorporation 理論の例............................................. 27
第 4 章:分析
4.1 ギャルのファッションの分析.........................................28
4.2 ギャルのファッションの共通点の分析................................. 30
4.3 ギャルになる動機の分析.............................................30
第 5 章:終わりに
5.1 まとめ.............................................................32
5.2 今後の課題........................................................ 32
参考文献................................................................35
1
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญของงานวิจัย
ตอนที่ไปศึกษาแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมที่กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่นในปี 2011- 2012 นั้นได้พบเห็น
และกลุ่มเด็กสาวที่มีลักษณะเด่นทางด้านแฟชั่นที่มีความแปลกตาจากเด็กสาวทั่วไป จึงเกิดความรู้สึกสนใจ
ขึ้นมา ซึ่งกลุ่มคนเหล่านี้ถูกเรียกว่า แกล ซึ่งแกลนั้นมีลักษณะและเอกลักษณ์เฉพาะตนที่ดึงดูดสายตาผู้คน
และสร้างความสนใจให้แก่ผู้พบเห็นทั้งชาวญี่ปุ่นและชาวต่างชาติ ซึ่งลักษณะและพฤติกรรมการแสดงออก
ของแกลนั้นได้สร้างเป็นจุดเด่นให้แก่สังคมญี่ปุ่น จนถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมญี่ปุ่นไปแล้ว แกล
ญี่ปุ่นนั้นมีลักษณะหลายแบบ ทั้งแบบที่สวยงามและแปลกประหลาด ซึ่งถ้ามองเป็นศิลปะนั้นอาจมองว่า
เป็นสิ่งที่น่าพิศวง น่าค้นหาและชวนมอง แต่ในความเป็นจริงนั้นความสวยงามของเหล่าแกลที่มองเห็นทั้งใน
ด้านรูปลักษณ์ภายนอกและพฤติกรรมนั้นดูจะเป็นสิ่งที่แต่งเสริมเติมแต่งจนเกินพอดี และบางคนยังสร้าง
ความแปลกแยกให้ตัวเองด้วยการแต่งหน้าและแต่งตัวให้แปลกประหลาด รวมทั้งพฤติกรรมบางอย่างที่
บางครั้งไม่เหมาะสมนักซึ่งภาพลักษณ์และการพฤติกรรมแสดงออกของแกลนั้นดูจะไม่ได้เป็นสิ่งที่น่าชื่นชม
เท่าใดนักในสังคมญี่ปุ่น แต่กลับพบเห็นผู้ที่เรียกได้ว่าเป็น “แกล” มากมายได้ตามสถานที่ทั่วไปในญี่ปุ่น
จากที่กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงมีความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับแฟชั่นของแกล และศึกษาถึง
แรงจูงใจของที่ทาให้เด็กสาวญี่ปุ่นเป็นแกล ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจต่อแกลญี่ปุ่นที่ลึกซึ้งขึ้น
รวมถึงเข้าใจในสังคมและวัฒนธรรมของญี่ปุ่นเพิ่มมากขึ้นด้วย
1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อศึกษาและเข้าใจถึงลักษณะแฟชั่นของแกลญี่ปุ่น
2. เพือ่ ศึกษาและเข้าใจถึงแรงจูงใจของแกลญี่ปุ่นที่ทาให้กลายเป็นแกล โดยใช้หลักทฤษฎี
Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske
3. เพื่อศึกษาและเข้าใจเกี่ยวกับแกลญี่ปุ่น ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมญี่ปุ่นทั้งในอดีตและ
ปัจจุบัน
2
1.3 ขอบเขตของงานวิจัย
มุ่งศึกษาแกลที่เกิดขึ้นตั้งแต่ปี 1990 จนถึงปัจจุบัน และมีลักษณะเด่นทางแฟชั่นที่เห็นได้อย่างชัดเจน คือ
แกลมัมบะ แกลชิบูย่า และแกลโกสต์โลลิ
1.4 คาถามของงานวิจยั
1. แฟชั่นของแกลเป็นอย่างไร
2. แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกลคืออะไร
1.5 วิธีการศึกษา
1. ศึกษาทฤษฎี Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske จากหนังสือและอินเตอร์เน็ต
2. ดูและตรวจสอบรูปภาพแกลแต่ละชนิดจากหนังสือและอินเตอร์เน็ต
3. วิเคราะห์แฟชั่นของแกลแต่ละชนิด โดยใช้หลักทฤษฎี Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske
3
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
2.1 ที่มาของคาว่าแกล
คาว่า Gal เป็นคาที่ยืมมาจากภาษาต่างประเทศ ในภาษาอังกฤษแบบอเมริกานั้นคาว่า Gal
เป็น
คาสแลง จากคาว่า Girl ในภาษาอังกฤษ ที่มีความหมายว่า เด็กผู้หญิง สาหรับในภาษาญี่ปุ่นนั้น คนญี่ปุ่น
ได้ออกเสียงพูดคาว่า Gal เป็น [ ギャル / Gyaru ] ในภาษาญี่ปุ่นคาว่า [ ギャル / Gyaru ]นั้นก็
มีความหมายที่หมายถึง เด็กผู้หญิง เหมือนในภาษาอังกฤษเช่นกัน แต่ได้มีการผสมความหมายแฝงเชิง
วัฒนธรรมอยู่อย่างเข้มข้นด้วย คือ ใช้เรียกเด็กผู้หญิงที่มีความทันสมัยทางแฟชั่น และมีสไตล์ที่โดดเด่น
2.2 ประวัติเกี่ยวกับแกล

ช่วงปี 1970
ได้เกิดการเปลี่ยนเปลี่ยนด้านแฟชั่นในสังคมญี่ปุ่น
โดยได้เกิดแฟชั่นที่เน้นความ
อิสระ ผู้คนมีอิสระและทางเลือกในการเลือกสวมใส่เสื้อผ้ามากขึ้น ซึ่งในตอนนั้นนิตยสารผู้หญิงที่
ชื่อว่า anan และ non-no ได้ออกวางจาหน่าย และกลายเป็นสิ่งที่มีอิทธิพลต่อแฟชั่นของผู้หญิง
ในสังคมญี่ปุ่นในช่วงนั้น เหล่าผู้หญิงญี่ปุ่นที่ได้เริ่มสวมใส่เสื้อผ้าแฟชั่นแบบใหม่ได้ปรากฎ
ออกมามากมาย
 ช่วงปลายปี 1980 หลังจากเศรษฐกิจฟองสบู่แตกในญี่ปุ่น ได้เกิดความนิยมสวมใส่ชุดวันพีชที่
เน้นรูปร่าง
สัดส่วนของร่างกาย ซึ่งเรียกชุดนั้นว่า ボディコン( Bodycon ) ซึ่งชุดแบบนี้นั้นเป็น
ที่นิยมของนักศึกษาผู้หญิงมหาวิทยาลัยและพนักงานบริษัทผู้หญิงมาก ได้มีการนามาใส่อย่าง
แพร่หลาย
4
 ตั้งแต่ช่วงปลายปี 1960 ถึงช่วงปลายปี 1970 ได้มีการปรากฏแกลที่เรียกว่า Sukeban,
Takenokozoku และ Lady’s ออกมา
 ตั้งแต่ช่วงกลางปี 1990 ถึงช่วงปลายปี 1990 ได้มีการปรากฏแกลที่เรียกว่า Kogal, Gonguro,
Manba, Kigurumin และ Gal ออกมา
 ช่วงปี1980 ได้มีการปรากฏแกลที่เรียกว่า Nogomu ออกมา
 ตั้งแต่ช่วงครึ่งหลังปี 1990 ถึงปัจจุบันได้มีการปรากฏแกลที่เรียกว่า Gothloli ออกมา
 ตั้งแต่ช่วงกลางปี 1990 ถึงปัจจุบัน ได้มีการปรากฏแกลที่เรียกว่า Decora ออกมา
 ตั้งแต่ปี 2000
ยังไม่ปรากฏแกลชนิดใหม่ขึ้นมาในสังคมญี่ปุ่น
2.3 ประเภทของแกล
จากอดีตถึงปัจจุบัน แกลมีหลายประเภท โดยแกลหลายประเภท ปัจจุบันได้หายไปจากสังคมญี่ปุ่น
แล้ว และยังคงเหลือแกลบางประเภทในสังคมญี่ปุ่นอยู่ด้วย โดยได้มีการแบ่งประเภทของแกลไว้
ดังต่อไปนี้
2.3.1 Bad Gals : มีภาพลักษณ์ที่ป่าเถื่อน รุนแรง มักทาเรื่องไม่ดี เช่น ทะเลาะตบตี ขโมยของ
เป็นต้น แกลกลุ่มนี้ ได้แก่ Sukeban, Takenokozoku, Lady’s
 Sukeban
มาจากคาภาษาญี่ปุ่นว่า Suke ที่แปลว่า
female และ ban ที่แปลว่า boss ว่ากันว่า
เป็นแกลที่มีนิสัยป่าเถื่อน รุนแรง ชอบ
ทะเลาะเบาะแวง มีพฤติกรรมที่แย่ มักพบ
เห็นแกลประเภทนี้ใส่กระโปรงนักเรียนยาว
ถึงข้อเท้า ใส่เสื้อคอซอง มักรวมตัวและจับ
กลุ่มคุย สูบบุหรี่กันตามสถานที่ต่าง ๆ
ปัจจุบันไม่มีแล้ว
5
 Takenokozoku
แกลประเภทนี้เป็นแกลที่อายุยังไม่สามารถเข้าผับ
บาร์ได้ จึงมารวมกันที่สวนสาธารณะในฮาราจูกุ
ร่วมกันคิดท่าเต้นและเต้นอย่างช้า ๆ ชอบเสื้อแบ
รนด์ที่ชื่อว่า Tekenoko ซึ่งดีไซเนอร์ได้รับแรงจูงใจ
การทาเสื้อผ้ามาจากเสื้อผ้าแนววัฒนธรรมญี่ปุ่น แต่
เนื่องจากมีราคาแพงมาก แกล Takenokozoku จึงนา
แบบเสื้อผ้าของแบรนด์นี้มาดัดแปลงทาเอง และ
นิยมใส่รองเท้าแนวกังฟูด้วย ไม่ได้มีพฤติกรรม
รุนแรง แต่บางครั้งชอบขโมยของ
 Lady’s : เป็นกลุ่มแกลที่รวมตัวกันเป็นแก๊งค์ขี่มอร์เตอร์ไซด์เสียงดัง (ตอนกลางคืนในชิน
จูกุ กรุงโตเกียว ) สร้างความรบกวน และมีเรื่องทะเลาะเบาะแว้งบ่อยครั้ง มักทาตาสีม่วง
พันผ้ารอบอก ใส่โค้ทยาวและกางเกงตัวใหญ่ที่มีคาภาษาญี่ปุ่นเขียนสกรีนไว้ ว่ากันว่ามี
หลายกลุ่มที่มีเรื่องทะเลาะกับแก๊งค์มาเฟียจีน จนคนในกลุ่มถูกลักพาตัวหายไปก็มี
2.3.2 Sexy Gals : : เน้นแต่งตัว ทาผมแนวเซ็กซี่ แกลกลุ่มนี้ ได้แก่ Kogal, Gonguro,
Mamba, Kigurumin, Shibuya Gal
 Kogal
Ko มาจากคาว่า Kodomo ซึ่งในภาษาญี่ปุ่น
แปลว่า เด็ก นิยมกระโปรงสั้น ใส่รูทซอค ใช้
PHS Phone แต่งหน้าหนา ใส่คอนแทคเลนส์
และทาผิวแทนก็มีความนิยม ชอบใช้ของแบรนด์
เนมมาก มักหาชายวัยกลางคนเพื่อให้เลี้ยงข้าว
และซื้อของให้(อาจมีเซ็กส์) เรียกว่า Enjo Kousai
6
 Gonguro
Gonguro แปลว่า ดามาก นิยมทาเข้า
ร้านทาผิวสีแทน ทาผมตรง และกัดสี
ผม นิตยสารแฟชั่น Egg มีอิทธิพลต่อ
แกล Gonguro มาก เริ่มเกิดขึ้นมาจาก
เด็กมัธยมที่นิยมทาผิวแทน
 Mamba
พัฒนามาจากแกล Gonguro แต่จะมีความ
เด่นและประหลาดกว่า นิยมแฟชั่นสี
ฉูดฉาด ตกแต่งเครื่องประดับรกรุงรังบน
หัว แต่งตัวเซ็กซี่ โชว์เนื้อหนัง เวลาว่าง
มักจะฝึกเต้นราบา Para Para ที่ฮาราจูกุ
แบรนด์เนมที่ชื่นชอบคือ Alba Losa
 Kigurumin
ปี 2003-2004 ปรากฎแกล
Kigurumin แค่หนึ่งปี เป็นแกลทีม
่ ี
ความสุขกับการได้แต่งคอสตูมเป็นตัว
การ์ตูนต่าง ๆ เช่น Pokemon, Pikachu,
Hamtaro
เป็นต้น แล้วเดินโชว์ไปตาม
ถนนในชิบูยา่ และฮาราจูกุ พัฒนามาจาก
Yamamba
ในโตเกียว
หาซื้อคอสตูมที่ Ikebukuro
7
 Shibuya Gal
ในช่วงนี้แนวการแต่งตัวของแกลเริ่ม
เปลี่ยนไป สร้างภาพลักษณ์ตนเอง
ให้ดูเป็นผู้ใหญ่ ดูมีสไตล์ สีผิวขาว
กลายเป็นที่นิยมแทนสีผิวแทน มี
สไตล์การแต่งหน้าที่เน้นความเป็น
ธรรมชาติมากขึ้น
2.3.3 Arty Gals : เน้นแต่งตัว ทาผมแนวที่ตกแต่งให้ดูเป็นศิลปะ แกลกลุ่มนี้ ได้แก Nogomu
Gothloli , Decora
 Nagomu
แกลประเภทนี้ชื่นชอบวง Nagomu label
นิยมแต่งกายโดยใส่เสื้อผ้าแนวชิค เท่ เก๋
ใส่ถุงเท้านีไฮ(ถุงเท้ายาวถึงเข่า) เสื้อแขนยาว
ลายขวาง รองเท้าส้นยางทีม่ ีส้นหนา สะพาย
กระเป๋าเป้แบบกระเป๋าของโรงเรียนประถม
และทาปากด้วยลิปสีแดง
 Gothloli
แกลประเภทนี้จะแต่งตัวคอสเพลย์ตาม
นักร้อง Goth band เรียกว่าการแต่งตัวแนว
Visual โดยลักษณะของเสื้อผ้าจะเป็นสีเรียบ
ๆ เช่น สีขาว และดา แล้วอาจแต่งหน้าเข้ม ๆ
ด้วย
8
 Decora
มาจากภาษาอังกฤษคาว่า Decoration ที่
แปลว่า การตกแต่ง โดยมีลักษณะเด่นคือ
การแต่งตัวที่มีสีสัน ใช้ของประดับน่ารัก
ๆ เช่นตุ๊กตา กิ๊บ เข็มกลัด เป็นต้น ติดตาม
เสื้อผ้า และทรงผมมากมาย Decora girls
มักจะมารวมตัวกันที่สวนสาธารณะที่ฮารา
จูกุ พูดคุยกันเรื่องแฟชั่น และแลกเปลี่ยน
ซื้อขายของน่ารัก ๆที่ตนเองทาเองกัน
2.4 การใช้ชีวิตและพฤติกรรมของแกล
2.4.1 การใช้ชีวิต แม้ว่าแกลจะมีหลายประเภท และมีลักษณะต่างกัน แต่ส่วนใหญ่แล้ว การใช้
ชีวิตประจาวัน ในแต่ละวันของแกลมักจะคล้ายกัน ซึ่งในแต่ละวันการ เหล่าแกลมักจะใช้ชีวิตประจาวันที่
ซ้า ๆ กัน โดยการใช้ชีวิตประจาวันของเหล่าแกลที่มักเห็นได้ชัด มีดังต่อไปนี้
" แต่งหน้าด้วยระยะเวลานาน, ใช้เวลาในการเลือกชุดเพื่อแต่งตัว, ช็อปปิ้งตามชิบูย่าหรือฮาราจูกุ
พบปะสังสรรค์กับกลุ่มของตนตามสถานที่ต่าง ๆ, หาคู่เที่ยว (อาจเที่ยวกับแฟน หรือจีบชายหนุ่มกลางคนที่
เรียกว่า Enjo Kousai), เที่ยวกลางคืน ( เข้าผับ ดื่มเหล้า เต้นรา ), ค้างคืนนอกบ้าน หรือกลับบ้านตอนเช้า
(ไม่ทันรถไฟเที่ยวสุดท้ายในการกลางคืน หรือ ไม่อยากกลับ) "
2.4.2 พฤติกรรม
แกลนั้นมีหลายประเภท แต่ก็มักมีพฤติกรรมร่วมส่วนใหญ่ที่คล้าย ๆกัน
 ใช้เงินสุรุ่ยสุร่ายไปกับการเที่ยว ช็อปปิ้งซื้อของ ปาร์ตี้
 ใช้ของแบรนด์เนม
 รวมกลุ่มตามชิบูย่าหรือฮาราจูกุ พูดคุยเสียงดัง
9
 มองหาชายวัยกลางคนท่าทางมีเงิน เพื่อเที่ยว ซื้อของ รับประทานอาหาร อาจจบด้วยเซ็กส์
โดยค่าใช้จ่ายทั้งหมดผู้ชายเป็นผู้รับผิดชอบทั้งหมด
 เที่ยวกลางคืน มักใช้ชีวิตในตอนกลางคืน โดยการเข้าผับ กินเหล้า เต้นรา จนถึงเช้า
 ไม่กลับบ้าน มักออกจากบ้านและไม่กลับบ้านเป็นเวลาหลายวัน โดยอาจไปค้างบ้านเพื่อน
หรือแฟน หรืออาจเป็นบ้านของผู้ชายที่เพิ่งรู้จักกันตามผับ
 แต่งตัวโป๊ ไม่ระมัดระมัดในการนั่ง (นั่งโชว์กางเกงใน)
 ใส่ใจกับการแต่งหน้ามาก แต่งหน้าหนา โดยจะใช้เวลานานมากในการแต่งหน้า ซึ่งมีแกล
หลายคนที่ถ้าไม่แต่งหน้า จะไม่มีความมั่นใจในการออกจากบ้านไปพบคนอื่น หรือ แกล
หลายคนมักจะไปแต่งหน้าบนรถไฟ
 ใช้ภาษาหยาบคาบบ่อย ๆในการพูดคุย
2.5 ภาษาแกล
แกลมักจะสร้างคาศัพท์ใหม่ ๆ ของกลุ่มตนเองขึ้นมา แล้วนาคาศัพท์ใช้พูดในบทสนทนาใน
ชีวิตประจาวัน หรือใช้พิมพ์ข้อความบนโทรศัพท์มือถือ โดยมีการสร้างคาหลายแบบ เช่น อาจมาจากคาสอง
คาที่ถูกตัดให้สั้นลงและนามาประกอบกับอีกคาที่ถูกตัดเช่นกัน หรือสร้างมาจากคาหรือประโยคที่ยาวและ
นามาย่อหรือตัดให้เหลือเป็นคาที่สั้นลง หรือบางคาก็สร้างมาจากประโยคภาษาอังกฤษ โดยใช้อักษร
ภาษาอังกฤษของแต่ละคาในประโยคมาประกอบกันเป็นคาใหม่ ฯลฯ ซึ่งภาษาแกลนั้นบุคคลที่ไม่ใช่แกล
อาจรู้หรือไม่รู้ความหมายก็ได้ เนื่องจากแกลมีการสร้างคาใหม่ ๆ ขึ้นมาเสมอ คาศัพท์ใหม่ ๆ มักเกิดขึ้นมา
ตลอดเวลา
ภาษาแกลนั้นมีมากมายหลายคา โดยในที่นี้จะยกตัวอย่างมาเพียงบางส่วนเท่านั้น ดังต่อไปนี้
1.
おこ
มาจากคาว่า 怒る (OKORU) หมายความว่า โกรธ
2.
りょ มาจากคาว่า 了解(りょうかい/RYOKAI)หมายความว่า รับทราบ. เข้าใจแล้ว
3.
あとーんす(ATONSU) มาจากคาว่า ありがとうございます (ARIGATOUGOZAIMASU) หมายความว่า
ขอบคุณ
10
4.
あげぽよ
มาจาก「あげ」ที่แปลว่า ขึ้น (ความหมายในเรื่องอารมณ์ คือ รู้สึกดีขึ้น )
「ぽよ」ไม่มีความหมายเฉพาะ เป็นพิเศษ แต่พูดแล้วรู้สึกดี
หมายความความว่า ร่าเริงแจ่มใส สดชื่นขึ้น รู้สึกดี ดีใจ
นอกจากนี้ยังมีคาว่าเติม 「ぽよ」ลงไปท้ายคาอีก เช่น「おつぽよ」「萎えぽよ」
「ムカぽよ」「ダメぽよ」
5. GHQ มาจากประโยคภาษาอังกฤษ Go Home Quickly หมายความว่า กลับบ้านเร็ว (นักเรียน
มัธยมนิยมใช้พูดตอนที่หลังจากเลิกเรียนแล้ว รีบกลับบ้านทันที)
6.
ありえんてい(ARIENTEI)
มาจากคาว่า ありえない (ARIENAI) หมายความว่า เป็นไปไม่ได้
ไม่น่าเชื่อ
7.
あーね。มาจากประโยคว่า あー、なるほどね。= あーね
8. P 系 P มาจากคาว่า ぽっちゃり ที่แปลว่า อวบ
P = ぽ P 系 ใช้เรียก คนที่มีรูปร่างอวบ
2.6 สิ่งที่แกลให้ความสนใจ
2.6.1 สถานที่ช็อปปิ้ง สถานที่ช็อปปิ้งที่เป็นที่นิยมสาหรับเหล่าแกล ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ที่ชิบูย่า
กรุงโตเกียว ซึ่งในที่นี่จะกล่าวถึงสถานที่ที่เป็นที่นิยมมาก ดังต่อไปนี้
 ชิบูย่า 109 เป็นศูนย์กลางช็อปปิ้งที่มีความนิยมมากที่สุดของเหล่าแกลที่รวบรวม
ร้านเสื้อผ้า เครื่องประดับชื่อดังต่าง ๆ ไว้มากมาย โดยเน้นสินค้าแบบแกล มี
พนักงานขายสินค้าประจาร้านที่มีลักษณะการแต่งหน้าแต่งตัวเป็นแกลอยู่
สถานที่ตั้งอยู่ที่ใกล้กับสถานีรถไฟชิบูย่า เมืองชิบูย่า ในกรุงโตเกียว
 Parco มีหลายสาขาในโตเกียว แต่สาขาที่เมืองที่ชิบูย่าเป็นที่นิยม
 Marui มีหลายสาขาในโตเกียว แต่สาขาที่เมืองที่ชิบูย่าเป็นที่นิยม
11
2.6.2 แบรนด์เนม แบรนด์ที่เป็นที่นิยมของเหล่าแกลมีหลายแบรนด์ ดังต่อไปนี้
 ALBA ROSA(アルバローザ)
 COCOLULU (ココルル)
 BLUE MOON BLUE(ブルームーンブルー)
 ROXY(ロキシー)
 EGOIST(エゴイスト)
 JSG(ジェイエスジー)

マープル Q
2.6.3 นิตยสารแฟชั่น มีนิตยสารแฟชั่นหลายเล่มออกวางขายในญี่ปุ่น ซึ่งนิตยสารแฟชั่นที่เป็นที่
นิยมของแกล และแกลมักจะใช้นาไปเป็นต้นแบบในการแต่งหน้า ทาผม แต่งตัว มีดังต่อไปนี้
 Popteen
 Egg
 S cawaii
 Ranzuki
 Blenda
 Happie Nuts
 GISELe
 美人百花
 Ageha
 Jelly
 Hana shu
(Patrick
Macias and Izumi Evers、2007 -
ผู้วิจัยแปล)
12
บทที่ 3 เกี่ยวกับทฤษฎี Excorporation และผู้คิดค้นทฤษฎี
3.1 ผู้คิดค้นทฤษฎี
ทฤษฎี Excorporation นี้ สร้างโดยนักสังคมวิทยาชาวอเมริกา ชื่อ John Fiske
John Fiske เป็นนักวิชาการด้านสื่อที่ได้สอนไปทั่วโลก เขาเป็นศาสตราจารย์สอนในสาขาวิชาศิลปะ
การสื่อสารที่มหาวิทยาลัย Wisconsin - Madison การศึกษาที่ Fiske สนใจนั้นจะเกี่ยวกับเรื่องวัฒนธรรม
สมัยนิยม(Popular Culture), วัฒนธรรมของมวลชน(Mass Culture) และการศึกษาด้านสื่อโทรทัศน์ และ
ผลงานของFiske ก็ได้รับการยอมรับในด้านที่มีคุณค่าต่อการอธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรม
Fiske มีผลงานด้านงานหนังสือที่มีชื่อเสียงมากมาย ที่เป็นรู้จักและโด่งดังมากคือ Power Plays,
Power Works (1993), Understanding Popular Culture (1989), Reading the Popular (1989), and the
influential Television Culture (1987).
นอกจากนี้ Fiske ยังมีบทบาทในด้านการวิจารณ์สื่อ Fiske ได้พิจารณาถึงความหมายเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมว่าถูกสร้างขึ้นอย่างไรในสังคมอเมริกัน และการโต้แย้งในเรื่องการแข่งขันที่ถูกจัดขึ้นในสื่อที่
13
แตกต่าง จากผลงานที่ถูกเป็นที่ยอมรับมากมายทาให้ Fiske ได้รับปริญญากิตติมศักดิ์จากมหาวิทยาลัย
Antwery
Fiske ได้ถอนตัวจากการเป็นนักวิชาการ แล้วหันไปอุทิศตนอย่างเต็มที่ให้แก่ด้านโบราณวัตถุที่
เบอร์มอนท์ในรัฐเวอร์มอนท์ สหรัฐอเมริกา แต่สาหรับในด้านผลงานของ Fiske ผลงานต่าง ๆ ก็ยังคงถูก
นามาใช้ศึกษาและอธิบายเกี่ยวกับวัฒนธรรมได้อย่างกว้างขวาง
ในการศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง วัฒนธรรมนิยม (Popular Culture) นั้น ทฤษฎีที่มีชื่อเสียงและได้รับ
การยอมรับอย่างกว้างขวางในการนามาศึกษาและอธิบายเรื่องวัฒนธรรมสมัยนิยม คือ ทฤษฎี
Excorporation ซึ่งเป็นทฤษฎีที่ Fiske สร้างขึ้นมา และสามารถนามาใช้อธิบายถึงความพยายามอย่างไม่
หยุดยั้งระหว่างคนกลุ่มใหญ่ หรือคนทั่วไปในสังคม (Dominant group) และ คนกลุม่ ย่อย หรือคนที่มี
อานาจรองในสังคม (Subordinate group) ในวัฒนธรรมสมัยนิยม
3.2 ความหมายของ INCORPORATION และ EXCORPORATION
ความหมายในทางทฤษฎีด้านสังคมวิทยานั้น มีดังนี้
3.2.1 Incorporation หมายถึง การทาตามกฎเกณฑ์ที่สังคมตั้งไว้ หรือ การอยู่ในกรอบของสังคม
เช่น การที่นักเรียนแต่งเครื่องแบบชุดนักเรียนตามกฎที่โรงเรียนตั้งไว้ โดยไม่ดัดแปลงเครื่องแบบนักเรียน
ให้แตกต่างไปจากที่โรงเรียนกาหนด ไม่ย้อมสีผมไปโรงเรียน ไม่ใส่เครื่องประดับสวยงาม และไม่แต่งหน้า
เข้มจนเกินพอดี
3.2.2 Excorporation หมายถึง การไม่ทาตามกฎเกณฑ์ที่สังคมตั้งไว้ หรือ การออกนอกกรอบ
สังคม เช่น การที่นักเรียนได้ดัดแปลงเครื่องแบบนักเรียนให้แตกต่างจากกฎที่โรงเรียนกาหนด เช่น การตัด
กระโปรงให้สั้นเหนือเข่า นาเสื้อไปเข้ารูปให้เล็กลง การตกแต่งชุดนักเรียนด้วยเครื่องประดับต่าง ๆ เป็นต้น
การย้อมสีผมไปโรงเรียน การใส่เครื่องประดับสวยงาม และการแต่งหน้าเข้มจนเกินพอดีไปโรงเรียน
14
3.3 แนวทฤษฎี Excorporation
Excorportion เป็นวิธีการที่คนกลุ่มย่อยในสังคมพยายามที่จะสร้างวัฒนธรรมของตนเองขึ้นมา
โดยเลือกใช้วัตถุดิบที่คนกลุ่มใหญ่ในสังคมใช้กันอยู่ แล้วนาวัตถุดิบนั้นมาเปลี่ยนหรือดัดแปลง ให้มีความ
แตกต่างจากสิ่งที่คนกลุ่มใหญ่ใช้หรือทากันอยู่ ซึ่งวิธีการใช้วัตถุดิบที่แตกต่างกันของคนกลุ่มใหญ่และคน
กลุ่มย่อยในสังคมนั้น ทาให้เกิดเป็นสิ่งใหม่ที่มีความน่าสนใจกว่าสิ่งเดิม ดังที่ John Fiske ได้กล่าวไว้ใน
ทฤษฎีว่า " the different uses of commodities to be most interesting."
1) การเลือกใช้วัตถุดิบที่คนกลุ่มหลัก หรือคนทั่วไปในสังคมใช้อยู่ทั่วไป
2) การนาวัตถุดิบที่เลือกนั้นมาเปลี่ยนหรือดัดแปลงด้วยวิธีการหนึ่ง ทาให้เกิดสิ่งใหม่ขึ้นมาที่มี
ลักษณะแตกต่างจากเดิม หรือมีการใช้งานที่ต่างไปจากเดิม
3) กลายเป็นวัฒนธรรมใหม่ขึ้นมาในสังคมที่มีความน่าสนใจกว่าวัฒนธรรมเดิม
ในทฤษฎีนั้น Fiske เชื่อว่าแนวคิดของทฤษฎี Excorporation เป็นศูนย์กลางการศึกษาวัฒนธรรม
สมัยนิยม และ Fiske ได้กล่าวไว้อีกว่า พลังของคนกลุ่มย่อยจะเปลี่ยนแปลงสิ่งธรรมดา และจะสร้างสิ่ง
ธรรมดานั้นให้ต่อต้านกับสิ่งที่คนกลุ่มใหญ่ทา ดังประโยคที่ว่า " the subordinate’s ability to create
originality and thus oppose the dominant "
3.4 ตัวอย่างทฤษฎี Excorporation
3.4.1 วัฒนธรรมพังค์
3.4.2 แฟชั่นบลูเดนิมยีนส์
(John
Fiske、1987 -
ผู้วิจัยแปล)
15
บทที่ 4 การวิเคราะห์
จากการศึกษาลักษณะของแกล และทฤษฎี Excorportion ของ นักสังคมวิทยา John Fiske นั้น
ผู้วิจัยจะนาข้อมูลดังกล่าวมาใช้เพื่ออธิบายในส่วนของการวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจที่ทาให้เด็กสาวญี่ปุ่น
กลายเป็นแกล โดยจะแบ่งการวิเคราะห์ได้ ดังนี้
จากทฤษฎี Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske ที่ว่า " Excorporation เป็นวิธีการ
ดาเนินการหนึ่งที่คนกลุ่มย่อยจะเลือกใช้วัตถุดิบต่าง ๆที่คนกลุ่มใหญ่ใช้อยู่ในสังคมมาเปลี่ยนแปลง หรือ
ดัดแปลงให้เป็นสิ่งของที่เป็นของกลุ่มตนเอง แล้วของที่คนกลุ่มย่อยสร้างขึ้นมาใช้ใหม่นั้น จะนาไปสู่
วัฒนธรรมใหม่ในสังคม
4.1 วิเคราะห์แฟชั่นของแกลแต่ละประเภท
ในการวิเคราะห์ต่อไปนี้ ผู้วิจัยจะจาแนกวัตถุดิบต่าง ๆที่แกลแต่ละประเภทเลือกมาจากวัตถุดิบที่คน
กลุ่มใหญ่ใช้กันอยู่ในสังคม รวมถึงวิธีการที่แกลแต่ละประเภทนั้นนาวัตถุดิบนั้นมาเปลี่ยนแปลงหรือ
ดัดแปลงให้เป็นสิ่งใหม่ หรือมีวิธีการใช้ที่แตกต่างที่คนกลุ่มใหญ่ในสังคมใช้อยู่ด้วย โดยประเภทของแกลที่
ผู้วิจัยเลือกมาวิเคราะห์นั้นจะเป็นแกลที่มีลักษณะเฉพาะที่เห็นได้ชัดเจน 3 ประเภท ดังนี้
4.1.1 Mamba Gals
วัตถุดิบที่ใช้ : ครีมรองพื้นสีแทนเข้ม อายไลเนอร์ (ที่เขียนตา)สีขาว น้ายากัดสีผม เครื่องประดับสี
ฉูดฉาด เช่น สร้อยคอ กาไล ดอกชบาปลอม ตุ๊กตา เป็นต้น เสื้อผ้าสีฉูดฉาด
วิธีการดัดแปลง :
1) ทาครีมรองพื้นสีแทนเข้มทั่วทั้งหน้าและตัว
2) ทาอายไลเนอร์สีขาวรอบดวงตาและรอบปาก
3) กัดสีผมให้พื้นผมเป็นสีขาวหรือสีเทาอ่อน และกัดสีผมด้วยสีฉูดฉาดเป็นช่อ ๆ
16
4) ใส่เสื้อผ้าสีฉูดฉาด แล้วตกแต่งตัวและผมด้วยเครื่องประดับสีฉูดฉาดเช่น สร้อยคอ กาไล ดอก
ชบาปลอม ตุ๊กตา เป็นต้น เสื้อผ้าสีฉูดฉาด
รูปลักษณ์ที่ได้ของ Mamba Gals :
4.1.2 Shibuy Gals
วัตถุดิบที่ใช้ : น้ายาย้อมผม เสื้อผ้าสไตล์ตะวันตก เครื่องประดับที่มีประกายแวววาว เครื่องม้วน
ผม เครื่องหนีบผม
วิธีการดัดแปลง :
1. ย้อมสีผมเป็นสีทอง หรือสีน้าตาลอ่อน หรือทาไฮไลท์
17
2. ม้วนผมด้วยโรลม้วนผม ทาให้ผมพองฟู ทาให้ดูมีความเป็นผู้ใหญ่
3. เลือกใส่เสื้อผ้าที่มีความทันสมัย เซ็กซี่ เสื้อผ้าที่เผยเนื้อหนัง ทาให้ดูเป็นผู้ใหญ่ มีความเซ็กซี่และ
ทาให้ดูเหมือนนางแบบ
4. ใส่เครื่องประดับที่มีประกายแวววาว ตกแต่งเล็บและของใช้ต่าง ๆด้วยสิ่งที่มีประกายแวววาว ทา
ให้ตนเองดูหรูหรา สวยงาม
รูปลักษณ์ที่ได้ของ Shibuya Gals :
18
4.1.3 Gothloli Gals
วัตถุดิบที่ใช้ : ชุดเครื่องแบบพยาบาล ผ้าลูกไม้ เครื่องสาอางที่มีสีดาหรือสีม่วง
วิธีการดัดแปลง :
1) ทาชุดเครื่องแบบพยาบาลเดิมให้เป็นสีดา และตกแต่งด้วยลูกไม้ ทาให้ดูน่ารัก และแฝงไว้ซึ่ง
ความลึกลับ
2) แต่งหน้าด้วยโทนมืดสีเข้ม โดยการทาเครื่องสาอางสีดาหรือสีม่วงที่ตาและปาก
รูปลักษณ์ของ Gothloli Gals ที่ได้ :
19
4.2 จุดร่วมแฟชั่นของแกล
4.2.1 จุดร่วมของการใช้วัตถุดิบ : เครื่องสาอาง เสื้อผ้าสไตล์ตะวันตก เครื่องประดับ
4.2.2 จุดร่วมของวิธีการดัดแปลงวัตถุดิบ : ใช้เครื่องสาอางที่คนกลุ่มใหญ่ในสังคมไม่เลือกใช้
การเปลี่ยนแปลงสิ่งของที่เป็นแบบพื้นฐานให้แปลกใหม่ การทาสีผมฉูดฉาด การตกแต่งเครื่องประดับและ
สิ่งของที่ร่างกายและผมที่มากเกินควร
4.3 วิเคราะห์แรงจูงใจที่ทาให้กลายเป็นแกล
ตามทฤษฎี Excorporation นี้ วัฒนธรรมของพังค์เป็นตัวอย่างหนึ่งของทฤษฎีที่แสดงถึงการออก
นอกกรอบสังคม ซึ่งมีความเหมือนกับกรณีของวัฒนธรรมแกล ในกรณีของวัฒนธรรมพังค์นั้น ชาวพังค์ได้
กรีดเสื้อยืดธรรมดา ๆ ให้ขาดบนเสื้อ ทาให้เสื้อยืดธรรมที่โดนกรีดขาดนี้กลายเป็นเสื้อยืดสไตล์ใหม่ แล้วก็
กลายเป็นจุดเด่นของแฟชั่นพังค์ จนนาไปสู่การเกิดวัฒนธรรมพังค์ขึ้นมา ซึ่งการที่ชาวพังค์สร้างสไตล์ใหม่
แบบนั้นขึ้นมาเพราะต้องการแสดงออกถึงการต่อต้านสังคม ในกรณีของแกลก็เช่นกัน แกลได้เลือกวัตถุดิบที่
คนทั่วไปในสังคมใช้นั้นมาเปลี่ยนหรือดัดแปลงจนเกิดเป็นสไตล์ใหม่ และได้กลายมาเป็นการเกิดวัฒนธรรม
ใหม่ที่เรียกว่าวัฒนธรรมแกลในสังคมญี่ปุ่นขึ้น สอดคล้องกับที่นักสังคมวิทยา John Fiske ได้กล่าวไว้ใน
ทฤษฎีที่ว่า "the process by which the subordinate make their own culture out of the resources
and commodities provided by the dominant system" และวัฒนธรรมใหม่ที่เกิดขึ้นนั้นก็จะเห็นได้วา่
มีความน่าสนใจกว่าวัฒนธรรมเดิม ซึ่งก็ได้สอดคล้องตามที่นักสังคมวิทยา John Fiske ได้กล่าวไว้ในทฤษฎี
อีกว่า "the different uses of commodities to be most interesting."
นอกจากนี้ จากข้อมูลที่ได้การวิเคราะห์แฟชั่นของแกลแต่ละประเภทข้างต้น ทาให้สามารถพบจุด
ร่วมของวัตถุดิบที่แกลเลือกใช้ และวิธีการที่แกลเปลี่ยนหรือดัดแปลงวัตถุดิบนั้นให้แตกต่างจากที่คนทั่วไป
ในสังคมใช้กัน ทาให้สามารถวิเคราะห์ได้ว่า แกลนั้นจะทาในสิ่งที่คนทั่วไปในสังคมไม่ทา ซึ่งสามารถกล่าว
ได้ว่า แกลนั้นอยากมีความแตกต่างจากคนทั่วไปในสังคม จึงได้ดัดแปลงสิ่งที่คนทั่วไปในสังคมใช้กัน แล้ว
สร้างสิ่งนั้นเป็นสไตล์ใหม่ขึ้นมา จนกลายเป็นวัฒนธรรมใหม่ในที่สุด
20
บทที่ 5 สรุป และข้อเสนอแนะ
5.1 สรุป
จากบททวนวรรณกรรม ทั้งหนังสือ และเว็บไซต์ทางอินเตอร์เน็ตได้ให้ข้อมูลเกี่ยวกับแกลญี่ปุ่นไว้
ว่า เป็นกลุ่มเด็กสาวที่มีความทันสมัย มีลักษณะเฉพาะตน อีกทั้งยังมีความหมายทางวัฒนธรรมด้วย ซึ่งแกล
ญี่ปุ่นนั้นจะมีลักษณะเด่นทางด้านแฟชั่นมาก แกลแต่ละประเภทก็จะมีลักษณะเด่นที่แตกต่างกันออกไป
และ จากการใช้ทฤษฎี Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske ที่เป็นทฤษฎีที่ใช้อธิบายเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมนิยมในสังคมนั้น ก็ทาให้สามารถวิเคราะห์ถึงจุดร่วมของแฟชั่นของแกลญี่ปุ่นได้ ทั้งในเรื่องของ
วัตถุดิบที่แกลญี่ปุ่นเลือกใช้ และวิธีการดัดแปลงวัตถุดิบนั้นให้เป็นสิ่งใหม่ ซึ่งนาไปสู่การเกิดขึ้นของ
วัฒนธรรมใหม่ในสังคมที่เหล่าแกลคิดว่ามีความน่าสนใจมากกว่าวัฒนธรรมเดิมที่คนกลุ่มใหญ่ในสังคม
ปฏิบัติกัน ซึ่งทฤษฎี Excorporation นั้นได้สามารถนาไปใช้วิเคราะห์ถึงแรงจูงใจในการกลายเป็นแกลของ
เด็กสาวญี่ปุ่นได้ แรงจูงใจนั้นคือ ความรู้สึกเบื่อหน่ายต่อสังคมทั่วไปของญี่ปุ่น ที่เหล่าแกลนั้นคิดว่าสิ่งที่คน
กลุ่มใหญ่ในสังคมทั่วไปทานั้นไม่น่าสนใจ ดังนั้น เหล่าแกลจึงพยายามสร้างสไตล์ใหม่ที่แตกต่างจากที่คน
กลุ่มใหญ่ในสังคมทากันขึ้นมา
5.2 ข้อเสนอแนะ
การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาวิเคราะห์ถึงแรงจูงใจในการเป็นแกลของเด็กสาวญี่ปุ่น โดยใช้ทฤษฎี
Excorporation ของนักสังคมวิทยา John Fiske ใช้ในการวิเคราะห์ ซึ่งถ้ามาโอกาสในการศึกษาครั้งหน้า
ผู้วิจัยคิดว่าควรจะไปทาการสัมภาษณ์แกลญี่ปุ่นโดยตรง ซึ่งวิธีนี้จะเป็นวิธีที่ทาให้สามารถได้คาตอบที่
ถูกต้องและชัดเจนยิ่งขึ้นเกี่ยวกับแกลญี่ปุ่น
21
第1章
1.1
序章
研究動機:
日本留学中に、町や道路で目立つ外見と行動がある女の子達をよく見たので、
面白いと思って、興味を持っていた。その女の子達は「ギャル」と言われてる。
ギャルには様々な種類がある。綺麗な方もおかしい方もある。美術として見たら、
美しく、珍しく見える。しかし、実物を見たら、その美しさは研究者にとってやりすぎに
見える。また、あるギャルが自分のカッコを変な化粧や変な服で飾ってとてもおかしいもの
だ。それに、ギャルの色々な行動は相応しくなくてよくなく見られるのだ。日本社会の中で
ギャルのイメージが悪く見られて、あまり褒められるものではないのに、多くのギャルが
よく見える。
上記、ギャルになるのがなぜ非ギャルよりいいのかということを知りたいので、研究者は
ギャルのファッションとギャルになる Z 動機を研究したい。それに、ギャルが日本の一つ
の興味深い文化だと言えるので、日本社会と日本の文化について興味を持っている人に役に
立つと思う。
1.2
研究目的:
1.ギャルのファッションを明らかにする。
2.ギャルの動機を明らかにする。
1.3
研究範囲
1990年の中ごろから現代まで発生したギャル。
1.4
研究課題
1.ギャルのファッションはどう?
2.ギャルになる動機は何?
22
1.5
データ提示
1.本とインターネットに社会学者 John Fiske の Excorporation 理論を勉強する。
2.本とインターネットからギャルの写真を見て、ギャルのファッションを調べる。
3.社会学者 John Fiske の Excorporation 理論によって ギャルのファッションを
分析する。
23
第2章
先行研究
2.1 ギャルの語源
ギャルという言葉は、英語において若い女性を指す Girl のアメリカ英語における
俗語 Gal に由来した。日本の発音で「ギャル/ Gyaru」になった。日本語でも若い女性という
意味もあるが、文化的な意味合いもある。
2.2 ギャルの歴史

1970 年ごろ、日本のフャッションが変わった。自由のフャッションスタイが広がっ
た。anan や non-no という女性ファッション雑誌が創刊して、女性に影響を与え
る時代であり、ニューファッションに身を包んだ女性が多く登場した。

1980 年後半、バブル絶頂期にはボディコンと呼ばれる非常にタイトでボディライ
ンを強調したワンピースが登場した。このようなフャッションは女子大生や OL が
特に着用する。

1960 年後半から 1970 年後半まで 、発生したギャルは
Sukeban, Takenokozoku,
Lady’s 。

1990 年の中ごろから 1990 年後半まで、発生したギャルは Kogal, Gonguro, Manba,
Kigurumin 、 Gal。

1980 年発生したギャルは

1990 年半ごろから現代まで、発生したギャルは

1990 年の中ごろから 現代まで、発生したギャルは Decora 。

2000年から、
Nogomu 。
Gothloli 。
新しいギャルがまだ発生しない。
2.3 ギャルの種類
2.3.1 Bad Gals のグループ は Sukeban, Takenokozoku, Lady’s がある。
2.3.2 Sexy Gals のグループは Kogal, Gonguro, Manba, Kigurumin, Gal がある。
2.3.3 Arty Gals のグループは Nogomu Gal、 Gothloli 、Decora がある。
24
ž
2.4 ギャルの生活と行動
2.4.1 ギャルの生活
ギャル達の一日のほとんどの時間は
渋谷で遊ぶ。起きた後、化粧を長時間でして、
オシャレな服を着て、渋谷に行く。渋谷では友達と待ち合わせて、一緒にショッピングし
て、男とデートする。夜から朝までクラブの中で遊ぶ。ある人が家に帰らない。外でよく
泊まる。
2.4.2 ギャルの行動
ギャルはたくさんの種類ある。本の情報によると、外見が違っても、共通の行動
がだいたい同じだ。
 ショッピングや遊びやパーティーなどお金を贅沢に使う。
 ブランド物を使う。
 渋谷に集まり、大きな声でしゃべる。
 援助交際 (中年のおじさんとデートして、食事や買い物の支払いをして
もらう。)
 よく夜遊びをして、外で泊まることが多い
 家に帰らない
 肌を露出する服を着る。

厚化粧をする。
 下品な言葉でよく話す。
2.5 ギャルの言葉
ギャルはよく新しい言葉を作る。また、言葉や普通に話す文を短くして、新しい
言葉を作る。ギャル語の意味がぜんぜん分からない人もいる。
例えば :
おこ:【意味】怒るの省略形。
あとーんす:【意味】ありがとうございます。
早口かつ軽い口調でいうと、そう聞こえるため。
25
あげぽよ:【意味】「あげ」はテンションの上げ下げを意味して、
「ぽよ」には特に意味はなく、単に響きが良いからだそう。
様々な言葉の語尾に、「ぽよ」を付けるのが流行中。
(例)「おつぽよ」「萎えぽよ」「ムカぽよ」「ダメぽよ」
2.6 ギャルの興味があること
2.6.1 ギャルのよく行くショッピングセンター
渋谷はギャルのセンター。たくさんのショッピングセンターある。情報によって、
ギャルがよく行くショッピングセンターは



渋谷109
パルコ
丸井
2.6.2 ギャルの好きなブランド






ALBA ROSA(アルバローザ)
COCOLULU(ココルル)
BLUE MOON BLUE(ブルームーンブルー)
ROXY(ロキシー)
EGOIST(エゴイスト)
JSG(ジェイエスジー)

マープル Q
2.6.3 ギャルの雑誌











Popteen
Egg
S cawaii
Ranzuki
Blenda
Happie Nuts
GISELe
美人百花
Ageha
Jelly
Hana shu
1980 年に角川書店が創刊。
1995 年に大洋図書が創刊。
2000 年に主婦の友社
2000 年にぶんか社が創刊。
2003 年に角川春樹事務所が創刊。
2004 年にインフォレストが創刊。
2005 年に主婦の友社が創刊。
2005 年に角川春樹事務所が創刊。
2006 年にインフォレストが創刊。
2006 年にぶんか社が創刊。
2002 年に主婦の友社が「Cawaii!」の妹系の雑誌として創刊。
26
第3章
Excorporation 理論 と John Fiske 社会学者について
3.1 社会学者 John Fiske について
Excorporation 理論は
3.2 Incorporation と
3.2.1
社会学者 John Fiske によって作られた。
Excorporation の意味
Incorporation : 社会の規範通りにやること 例えば、学生は学校ルール通り
に学校の制服を着る。
3.2.2
Excorporation : 社会の規範通りにやらないことりにやらないこと 例えば、
学生は学校の制服をアレンジしする。スカートも短くしたり、アクセサリーを制服につけ
たり、シャーツもぴったりにします。
27
3.3 Excorporation 理論について
Excorporation 理論は社会の少数派が社会の多数の使っている素材をアレンジして、社
会の多数の文化と違う新しい文化を構築する努力する成り行きである。その新しい文化は社
会の多数派より面白い。
Excorporation の成り行き
1) 社会の少数派が社会の多数派が使っている素材をアレンジする。
2) 新しい物を作る。
3) 新しい文化を構築する。
3.4
Excorporation 理論の例
1. ブルーデニンジーンズ ka
2. パンクカルチャー
28
第4章
分析
第3章に書いてある John Fiske の Excorporation 理論に基づいて、ギャルについて分析
する。
4.1
ギャルのファッションの分析
4.1.1
マンバギャル
1)素材 :黒いファンデーション、白いアイライン、脱色財、派手なアクセサリー、
ぬいぐるみやハイビスカス
2) アレンジ仕方 : 黒いファンデーションで顔と体を塗り、白いアイラインで唇と目の
周りに塗り、派手な髪色、派手なアクセサリーやぬいぐるみやハイビスカスなどを
髪につけ、セクシーで派手な服を着る 特にピンクとオレンジ。
3) できた外見:
29
4.1.2 渋谷ギャル
1) 素材 : 染髪財、洋服、キラキラしたアクセサリー
2) アレンジ仕方 : 金髪し、おしゃれで大人ぽく見える洋服を着て、キラキラした
アクセサリーを体に飾るする。
3) できた外見
:
30
4.1.3 ゴスロリギャル
1) 素材: 制服、黒と紫の化粧品
2) アレンジ仕方 : 普通の制服を黒にして、黒か紫の化粧品で目と口に塗る。
3) できた外見 :
4.2 素材とアレンジの共通
4.2.1 素材 :化粧品、制服、染めもの、アクセサリー
4.2.2 アレンジ
:多数派が使わない化粧品の色を使う、基本を逸脱する、派手な髪色髪
と体に過剰にアクセサリーをつける。
4.3
ギャルになる動機の分析
Excorporation 理論によれば、パンクカルチャーの例がある。ギャルの場合と同じです。
パンクの場合は基本の T シャーツをやぶらせて、新しい T シャーツのスタイルができてパン
クカルチャーになった。パンクがそういうことをやるのは社会に反抗はんこうしたいという
31
ことを表現する。ギャルの場合もパンクの場合と同じです。ギャルは多数派が使っている
素材をアレンジして、新しいスタイルを作って、ギャルの文化になれた。それは社会学者
John Fiske に "the process by which the subordinate make their own culture out of
the resources and commodities provided by the dominant system" と言われた
Excorporation 理論に合致する。少数はが作った新しいスタイルは多数はのより面白い
見られる。それは社会学者 John Fiske に"the different uses of commodities to be
most interesting." と言われた Excorporation 理論に合致する。
それに、ギャルのファッションの分析から見ると、ギャルは社会の多数派がやらな
いことをやると見つけた。ですから、ギャルが社会の多数派と違いを持ちたいと考えられる。
32
第5章
終わりに
5.1.まとめ
ギャルは一般社会がつまらないので、社会の多数派と違う新しいスタイルを作った。
Ex corporation 理論の分析によって、社会の少数派としてのギャルは多数派が使っている
素材をアレンジして、新しいスタイルを作って、新しい文化になった。
5.2.今後の課題
ギャルについてもっと明らかな答えが分かるように、ギャルに直接聞き取り調査したほう
がいいと思う。
33
บรรณานุกรม
John Fiske. (1987). Understanding Popular Culture. London: Routledge.
Patric Macias, Izumi Evers. (2007). Japanese Schoolgirl Inferno Tokyo Teen Fashion Subculture
Handbook. China: Chroniclebooks.
Philomena Keet. (2007). The Tokyo Look Book. Tokyo: Kodansha International Ltd.
今田絵里香. (2007). 少女の社会史.
東京:勁草会社.
Excorporation theory.(n.d.d). Retrieved November, 2013, from
http://en.wikipedia.org/wiki/Excorporation
John Fiske.(n.d.d). Retrieved November, 2013, from http://en.wikipedia.org/
wiki/John_Fiske_(media_scholar)
坂上眞介. (2011). 消費者情報.
Retrieved January, 2013, from
www.mdr- j.co.jp/jisyu/jouhou/201108.pdf
ギャル.
(n.d.d )Retrieved November, 2013, from
http://ja.wikipedia.org/wiki/%E3%82%AE%E3%83%A3%E3%83%AB
รูปภาพ
" Barks." Retrieved January, 2013, from http://www.barks.jp/news/?id=1000062104
"Fashionista." Retrieved January, 2013, from http://crimes-of-fashion.blogspot.com/2009/05/japanesestreet-fashion-gothloli.html
"Gothic Lolita-Gothicloli." Retrieved January, 2013, from http://cute-kawaii.com/kawaii-styles/gothiclolita-gothloli.html
"Japanese" Retrieved January, 2013, from http://www.cgauiwtalk.com/students/
cole/final/gothiclolita.html
34
"Naver まとめ." Retrieved January, 2013, from http://matome.naver.jp/
odai/2129801155701452601/2129824977507212203
"あべこうじのハッピー日記." Retrieved January, 2013, from
http://abekoji.laff.jp/blog/2010/05/post-a7b8.html
"マンバ布教活動."
Retrieved January, 2013, from http://yaplog.jp/12tmrn/archive/213
35
参考文献
John Fiske. (1987). Understanding Popular Culture. London: Routledge.
Patric Macias, Izumi Evers. (2007). Japanese Schoolgirl Inferno Tokyo Teen Fashion Subculture
Handbook. China: Chroniclebooks.
Philomena Keet. (2007). The Tokyo Look Book. Tokyo: Kodansha International Ltd.
今田絵里香. (2007). 少女の社会史.
東京:勁草会社.
Excorporation theory.(n.d.d). Retrieved November, 2013, from
http://en.wikipedia.org/wiki/Excorporation
John Fiske.(n.d.d). Retrieved November, 2013, from http://en.wikipedia.org/
wiki/John_Fiske_(media_scholar)
坂上眞介. (2011). 消費者情報.
Retrieved January, 2013, from
www.mdr- j.co.jp/jisyu/jouhou/201108.pdf
ギャル.
(n.d.d )Retrieved November, 2013, from
http://ja.wikipedia.org/wiki/%E3%82%AE%E3%83%A3%E3%83%AB
写真
" Barks." Retrieved January, 2013, from http://www.barks.jp/news/?id=1000062104
"Fashionista." Retrieved January, 2013, from http://crimes-of-fashion.blogspot.com/2009/05/japanesestreet-fashion-gothloli.html
"Gothic Lolita-Gothicloli." Retrieved January, 2013, from http://cute-kawaii.com/kawaii-styles/gothiclolita-gothloli.html
"Japanese" Retrieved January, 2013, from http://www.cgauiwtalk.com/students/
cole/final/gothiclolita.html
36
"Naver まとめ." Retrieved January, 2013, from http://matome.naver.jp/
odai/2129801155701452601/2129824977507212203
"あべこうじのハッピー日記." Retrieved January, 2013, from
http://abekoji.laff.jp/blog/2010/05/post-a7b8.html
"マンバ布教活動."
Retrieved January, 2013, from http://yaplog.jp/12tmrn/archive/213