กรณีศึกษา : เหตุการณ์แผ่นดินไหว พ.ศ.2554

จิตสานึกของคนญี่ปุ่นที่มีต่อความเป็นสาธารณะ
กรณีศึกษา เหตุการณ์แผ่นดินไหว พ.ศ. 2554
อาจารย์ที่ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจางค์ ใจใส แดร์อัสลานิออง
Dr. Senjo Nakai
และ
อาจารย์ยูอิจิ คนโนะ
นางสาวอรุณี สาธุเม
รหัสนักศึกษา 510110417
ปริญญานิพนธ์กระบวนวิชา 018499
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2555
①
บทคัดย่อ
1. ชื่อเรื่องงานวิจัย
จิตสานึกที่มีต่อสาธารณะของคนญี่ปุ่น กรณีศึกษา เหตุการณ์แผ่นดินไหว ปี พ.ศ. 2554
2. ชื่อผู้วิจัย
นางสาวอรุณี สาธุเม รหัส 510110417
3. สถาบัน
สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2555
4. อาจารย์ที่ ปรึกษา
ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจางค์ ใจใส แดร์อัสลานิยง, Dr. Senjo Nakai และอาจารย์ยูอิจิ คนโนะ
งานวิจัยฉบับนี้ได้จัดทาในรูปแบบของการศึกษาและวิเคราะห์ตามเอกสารและบันทึก เพื่อศึกษา
ลักษณะนิสัยและบุคลิกภาพพื้นฐานของคนญี่ปุ่น ผ่านเหตุการณ์ที่ยกขึ้นมาเป็นกรณีศึกษาประกอบ
โดยส่วนแรกนั้นผู้วิจัยได้ทาการศึกษาพร้อมทั้งรวบรวมข้อมูลรายละเอียดเกี่ยวกับการจาแนกความ
เป็นปัจเจกชน ส่วนรวม และความเป็นสาธารณะ อีกทั้งยังมีการอ้างถึงวิถีแนวคิดแบบเฉพาะตัวของ
คนญี่ปุ่น และสภาพสังคมโดยรวม ส่วนถัดมาคือข้อมูลเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้นเมื่อเดือน
มีนาคม ปี พ.ศ. 2554 และการดาเนินการต่างๆ หลังจากนั้น และในส่วนสุดท้ายผู้วิจัยได้ทาการ
วิเคราะห์โดยหยิบยกเหตุการณ์ตัวอย่างขึ้นมาและใช้ทฤษฎีประกอบในการวิเคราะห์
วัตถุประสงค์ของศึกษานั้นเพื่อเป็นการตอบโจทย์ที่ว่า การให้ความช่วยเหลือและการปฏิบัติตัวใน
ลักษณะที่เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่นของชาวญี่ปุ่นในช่วงเหตุการณ์แผ่นดินไหว ปี ค.ศ. 2011 เนื่องจากคน
ญี่ปุ่นเป็นชนชาติที่มีจิตสานึกต่อความเป็นสาธารณะใช่หรือไม่ ซึ่งผลสรุปคือไม่เป็นจริงทั้งหมด
กล่าวคือจิตสานึกที่มีต่อสาธารณะของคนญี่ปุ่นนั้นไม่ได้ครอบคลุมถึงคนทั้งชาติ เนื่องจากมีคนอีก
กลุ่มหนึ่งที่ทาตัวแปลกแยกออกไป ในลักษณะที่ก่อให้เกิดความเดือนร้อนต่อสังคม ซึ่งในที่นี้ถือว่า
เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งของมนุษย์ที่มีความหลากหลายแตกต่างกันไป
②
要旨
1. 研究標題
日本人の公共性に対する意識
事例研究:2011年東日本大震災
2. 著者
アルニー・サーテュメー
3. 学院
日本語学科 人文学部 チェンマイ大学
4. 助言者
Dr. Senjo Nakai と
本稿では、資料と理論に基づいて研究し、事例研究を通じて日本人の一般的性格と行動
を明らかにする。まず、個人的、公的、公共性の定義などについて情報を収集した。ま
た日本人独自の考え方と社会全体についても加えた。次は2011年東日本大震災の出
来事と人々の行動という点に着目した。それから、理論と事例研究を基に分析する。
研究を始める前に、筆者は次の試論を立てた。2011年東日本大震災の被害者への支
援、社会に対する行動は、日本国民は公共性があるということだ。研究する前、筆者は、
日本人といえば誰でも公共性があると思っていた。ところが、これに対しては一部だけ
当たった。大抵の日本人は同様なパターンで過ごしている。従って、大部分の日本人は
公共性があるということは間違いない。だが、それと違う行動をする人たちが存在し、
社会を困らせることも表れた。
ก
คำนำ
งานวิจัยเรื่อง จิตสานึกต่อความเป็นสาธารณะของคนญี่ปุ่น กรณีศึกษา เหตุการณ์
แผ่นดินไหว พ.ศ. 2554 นี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการศึกษากระบวนวิชา 018499 โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้เข้าใจลักษณะ แนวความคิด และสังคมญี่ปุ่นอีกด้านหนึ่ง รวมทั้งมองเห็นความสัมพันธ์ของ
ความคิดแบบวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของคนในสังคมเดียวกัน
ทั้งนี้ในกระบวนการศึกษานั้น ผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารบันทึกประกอบกับ
ทฤษฎีอ้างอิงในการวิเคราะห์ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วนั้น การศึกษาเชิงสังคมศาสตร์หรือ
มนุษยศาสตร์สามารถเลือกที่จะศึกษาด้านใดด้านหนึ่งเจาะจงลงไปได้ โดยในที่นี้ผู้ศึกษาได้เลือกที่
จะศึกษาสังคมในภาพรวมเป็นอย่างแรก และในโอกาสหน้าอาจมีการศึกษาต่อยอดเฉพาะด้านอื่นๆ
ต่อไป
อย่างไรก็ตาม การศึกษาครั้งนี้ไม่อาจสาเร็จลุล่วงได้หากไม่ได้รับการชี้แนะจากอาจารย์ที่
ปรึกษางานวิจัยทั้งสองท่าน ผู้ศึกษาขอขอบพระคุณผู้ช่วยศาตราจารย์เบญจางค์ ใจใส แดร์อัสลานิ
ออง, ด็อกเตอร์เซ็นโจ นาไก, และอาจารย์ยูอิจิ คนโนะ ที่ได้ให้คาแนะนาช่วยเหลือตลอดมา รวมถึง
อาจารย์สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่นทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้เป็นอย่างสูง
อรุณี สาธุเม
22 กุมภาพันธ์ 2556
ข
สารบัญ
หน้า
คานา
ก
สารบัญ
ข-ค
บทคัดย่อภาษาไทย
①
บทคัดย่อภาษาญี่ปุ่น
②
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาของปัญหาในการศึกษาค้นคว้า
1
1.2 คาถามในการวิจัย
1
1.3 วัตถุประสงค์
2
1.4 ขอบเขตในการศึกษา
2
1.5 แหล่งข้อมูล
2
1.6 ขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้า
3
1.7 แผนปฏิบัติงาน
3
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
2.1 ความหมายของ “ส่วนรวม- Public” กับ “ปัจเจกชน - Private”
4
2.2 การอธิบายความเป็นส่วนรวม (公共性)
4
2.3 สภาพสังคมญี่ปุ่นทั่วไป
6
ค
2.4 ทฤษฎีประกอบ
2.4.1 โครงสร้างสังคม
13
2.4.2 แนวคิดทางสังคมวิทยา
14
2.5 โครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
21
บทที่ 3 เนื้อหา
3.1 เหตุการณ์แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น (โทโฮคุ)
ปี ค.ศ. 2011
23
3.1.1 แผ่นดินไหว
24
3.1.2 คลื่นสึนามิ
25
3.1.3 ความเสียหายและผลกระทบ
28
3.1.4 ความสูญเสีย
28
3.1.5 ผลกระทบที่ตามมา
28
3.1.6 อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัย
37
บทที่ 4 วิเคราะห์
4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับกลุ่ม และโครงสร้างสังคมญี่ปุ่น
48
4.2 คนญี่ปุ่นกับจิตสาธารณะในเหตุการณ์แผ่นดินไหว ค.ศ. 2011
54
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา
58
สรุปการวิจัยภาษาญี่ปุ่น
60
บรรณานุกรม
70
1
บทที่ 1 บทนา
1.1 ที่มาของปัญหาในการศึกษาค้นคว้า
เมื่อกล่าวถึงชาวญี่ปุ่นนั้น เป็นที่ทราบกันโดยทั่วไปว่าเป็นชนชาติที่ให้ความสําคัญกับกลุ่ม งาน
และสังคมมากกว่า ตรงกันข้ามกับเรื่องส่วนตัวที่มักจะเก็บไว้ก่อนหรือให้ความสําคัญเป็นอันดับ
รองลงมา วาสึจิ เทะสึโร่ (和辻哲郎) นักวิชาการด้านจริยกาสตร่ชาวญี่ปุ่นได้กล่าวถึงลักกณะสังคม
ญี่ปุ่นไว้ว่า เป็นสังคมแบบบ้านหรือ“อิเอะ’’ (家) ขนาดใหญ่ที่เน้นความเป็นสาธารณะ อย่างไรก็ตาม
ได้มีนักวิชาการชาวญี่ปุ่นอีกท่านหนึ่งที่ให้ความเห็นในเชิงตรงกันข้ามซึ่งก็คือ ซึจิยะ อากิฮิสะ
(土屋彰久)โดยได้กล่าวไว้ในหนังสือชื่อ ‚โคะคะมิน โนะ โอซะไร‛(国民のおさらい)ตอน
หนึ่งของเนื้อหามีใจความว่าคนญี่ปุ่นขาดจิตสํานึกในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเป็นสาธารณะ ซึ่งคํากล่าว
นี้ขัดกับภาพลักกณ่โดยทั่วไปของชาวญี่ปุ่นที่ว่าในธรรมเนียมของคนญี่ปุ่น ทุกคนจะปฏิบัติตัวตามแบบ
แผนและมีสํานึกในความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ตนรับมาสูง (บัณฑิต ประดิกฐาวงก่ : 2539) อีกทั้งยัง
ขัดกับแนวคิดของวาสึจิ เทะสึโร่ อีกด้วย
แต่ในที่นี้ หากไม่นับถึงเรื่องที่ว่าคนญี่ปุ่นมีจิตสํานึกต่อสาธารณะจริงหรือไม่นั้น ประเด็นข้อ
สงสัยที่เกิดขึ้นคือ “ความเป็นสาธารณะ” ของคนญี่ปุ่นที่นักวิชาการทั้งสองกล่าวถึงนั้นคืออะไร ซึ่งจะ
นําไปสู่คําถามในการกึกกาครั้งนี้ว่า แล้วความเป็นสาธารณะนั้นมีผลต่อจิตสํานึกในการดําเนิน
ชีวิตประจําวันของคนญี่ปุ่นในระดับที่มากน้อยอย่างไร
1.2 คาถามในการวิจัย
การให้ความช่วยเหลือและการปฏิบัติตัวในลักกณะที่เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่นของชาวญี่ปุ่นในช่วง
เหตุการณ่แผ่นดินไหว ปี ค.ก. 2011 เป็นเพราะจิตสํานึกต่อความเป็นสาธารณะของตัวบุคคล
2
1.3 วัตถุประสงค์
1. เพื่อสามารถทําความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างความเป็นสาธารณะและความเป็น
ปัจเจกหของคนญี่ปุ่น รวมถึงสภาพและโครงสร้างของสังคม
2. เพื่อสามารถเชื่อมโยงวัฒนธรรม, วิธีคิดของคนญี่ปุ่น เข้ากับโครงสร้างสังคมที่มีผลต่อหรือ
ควบคุมการกระทําของสมาชิกในสังคมได้ โดยใช้กรณีกึกกาเป็นตัวอย่างในการวิเคราะห่
1.4 ขอบเขตในการศึกษา
การกึกกาเกี่ยวกับจิตสํานึกของคนญี่ปุ่นที่มีต่อความเป็นสาธารณะในครั้งนี้ แม้ว่าจะสามารถ
แบ่งการกึกกาเชิงลึกออกได้อีกหลายแขนง เช่น ด้านเกรกฐกาสตร่ หรือ ด้านการเมือง แต่ในขั้นแรกผู้
กึกกาได้วางกรอบในการกึกกาไว้คือต้องการกึกกาลักกณะและความหมายโดยทั่วไป เพื่อให้ส ามารถ
ทําความเข้าใจภาพรวมได้ โดยจะยกตัวอย่างกรณีกึกกาขึ้นมาประกอบการวิเคราะห่ โดยขอบเขตของ
เนื้อหา ได้แก่
1. ความแตกต่างของ ‚สาธารณะ‛ กับ ‚ความเป็นส่วนตัว‛
2. โครงสร้างสังคมและสิ่งที่สังคมโดยรวมให้ความสําคัญ
3. เหตุการณ่แผ่นดินไหว ปี ค.ก. 2011 ที่ภูมิภาคโทโฮคุ และสิ่งที่เกิดขึ้นตามมาหลังเหตุการณ่
1.5 แหล่งข้อมูล
1.4.1 งานวิจัยที่มีมาก่อนหน้าของนักวิจัยชาวญี่ปนุ่
1.4.2 หนังสือทีม่ ีเนื้อหาเกี่ยวข้องที่เขียนโดยนักวิชาการชาวญี่ปนุ่
1.4.3 บทความหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องที่เขียนโดยนักวิชาการไทย, หรือคนไทยที่มีความ
เกี่ยวข้องกับคนญี่ปุ่นเป็นระยะเวลานาน
1.4.4 ข้อมูลอ้างอิงที่สืบค้นได้จากอินเตอร่เน็ต เช่น สถิติ หรือตัวเลข จากแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือ
ได้
3
1.6 ขั้นตอนในการศึกษาค้นคว้า
1. ค้นคว้างานวิจัยที่มีมาก่อนหน้าเพื่อทําความเข้าใจภาพโดยรวมและสร้างกรอบในการกึกกา
2. กําหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการกึกกาและกึกกาในเชิงลึกพร้อมทั้งหาข้อมูลประกอบ
3. วิเคราะห่ สร้างนิยามของจิตสํานึกที่มีต่อสาธารณะของชาวญี่ปุ่นได้
4. ยกกรณีกึกกาที่เกี่ยวข้องขึ้นมา 1 กรณี แล้วใช้หลักการหรือองค่ความรู้ที่ได้มาวิเคราะห่
5. สรุปผลการกึกกา
1.7 แผนปฏิบัติงาน
1.6.1 กําหนดหัวข้อในการกึกกา
1-7 พฤกจิกายน 2555
1.6.2 นําเสนอโครงร่างและปรับปรุง
8-14 พฤกจิกายน 2555
1.6.3 รวบรวมข้อมูล-ทบทวนวรรณกรรม
15พฤกจิกายน – 13 ธันวาคม 2555
1.6.4 รวมรวบข้อมูล-เนื้อหา
20 ธันวาคม – 10 มกราคม 2555
1.6.5 วิเคราะห่ข้อมูลและสรุป
11 – 29 มกราคม 2555
1.6.6 เรียบเรียงข้อมูลรูปเล่ม
31 มกราคม – 20 กุมภาพันธ่ 2555
4
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม
2.1 ความหมายของ “ส่วนรวม- Public” กับ “ปัจเจกชน - Private”
ความหมายของส่วนรวมกับความเป็นปัจเจกชนนั้น ในหนังสือเรื่อง ‚โค โตะ ชิ‛ (公と私)เขียน
โดยมิโตะ ทาดาชิ(三戸公)นักเกรกฐกาสตร่ชาวญี่ปุ่น ซึ่งผู้เขียนได้สอบถามอาจารย่มหาวิทยาลัยชาว
อังกฤกเกี่ยวกับที่มาของคําว่า ‚Privacy‛- ปัจเจกชน กับ ‚Public‛-ส่วนรวม อาจารย่ชาวอังกฤกท่านนั้น
ได้พยายามค้นหาคําสองคํานี้ในพจนานุกรมและได้ความหมายออกมาดังนี้คือ ปัจเจกชนหมายถึงการ
เป็นของคนใดคนหนึ่ง ส่วนคําว่าส่วนรวม นั้นให้ความหมายในทางตรงกันข้ามคือ การเป็นของคนทุก
คนหรือทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน โดยมีคําอธิบายเสริมว่า Public หรือส่วนรวมนั้นเป็นคําที่เกิดขึ้นก่อน
แล้วหลังจากนั้นจึงได้มีการกําหนดคําว่า Private ขึ้นมาเพื่อจํากัดความหรือใช้อธิบายในสิ่งที่ไม่ใช่ของ
ส่วนรวม (คาโต้ :1999)
พับลิค ‚Public‛ แปลในภากาไทยได้ว่ามหาชนหรือสาธารณะชนเริ่มแพร่ขยายจากประเทกฝรั่งเกส
สู่ประเทกอังกฤกในช่วงคริสต่กตวรรกที่15 คําว่า Public หรือ Publicque ตามวิธีการสะกดในภากา
ฝรั่งเกสนั้นแต่เดิมแล้วเป็นคําที่มีรากกัพท่มาจากภากาละติน คือคําว่า Publicus
Publicus นั้นมีความหมายว่าการรวมกลุ่มของผู้คนจํานวนมาก นอกจากนั้นแล้วในกรีกยุคเก่าหรือ
แม้แต่ในโรม ยังให้ความหมายว่าสาธารณชนคือผู้ที่มีความสามารถในการตัดสินหรือจัดการกับปัญหา
ที่เกิดขึ้นในสังคมได้ (ยามากาวะ :1999)
2.2 การอธิบายความเป็นส่วนรวม (公共性)
แนวคิดเกี่ยวกับความเป็นสาธารณะ (公共性)นี้ไม่ใช่ทั้งความเป็นปัจเจกชนหรือส่วนรวมแต่
เกี่ยวข้องกับแนวคิดวิธีการแบ่งความเป็นปัจเจกชนกับส่วนรวมออกจากกัน โดยความเป็นสาธารณะ
นั้นจะเป็นสิ่งที่ข้ามผ่านขั้นตอนการจําแนกแยกแยะปัจเจกกับส่วนรวมไปแล้ว ซึ่งสามารถให้นิยาม
โดยรวมว่าความเป็นสาธารณะนั้นเป็นแนวคิดของการรวมเป็นหนึ่งเดียวหรือความมีเอกภาพ1ในขั้นสูง
ในที่นี้จะแบ่งคําอธิบายของความเป็นสาธารณะได้ด้วยกันทั้งหมด 5 แนวคิด
อย่างแรกคือ ความเป็นสาธารณะนั้นถูกตีความว่าเป็นแก่นแท้ของปรัชญาในการอยู่ร่วมกันของคน
ในสังคม ซึ่งความหมายโดยทั่วไปนั้นใช้อธิบายคุณลักกณะของสิ่งที่มีรูปแบบเป็นทางการ เป็นสิ่งที่
1
เอกภาพ (เอกกะ) น. หมายถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน, ความสอดคล้องกลมกลืนกันซึง่ ตรงกับภาษาอังกฤษคาว่า Unity
5
ควบคุมคนจํานวนมากให้อยู่ร่วมกันได้ภายใต้สังคมที่มีความเป็นระเบียบ และยังได้สร้างหลักการหรือ
แนวคิดขึ้นมาเพื่อใช้ในการบริหารจัดการงานบริการสาธารณะของรัฐบาลกลางและหน่วยงานราชการ
ส่วนท้องถิ่น เรียกว่า นโยบายสาธารณะ (公共政策)ซึง่ จุดประสงค่ของนโยบายนั้นจะเน้นไปที่การ
เอาใจใส่หรือคํานึงถึงผู้อื่นที่ดํารงอยู่ร่วมกันในสังคม อีกทั้งยังใช้เป็นแนวทางในการดําเนินการแก้ไข
ปัญหาที่เกิดจากการอยู่ร่วมกันของคนหมู่มาก
คําอธิบายถัดมาคือ ความเป็นสาธารณะมีคุณลักกณะที่ข้ามพ้นขอบเขตของการแบ่งแยกระหว่าง
ความเป็นปัจเจกกับส่วนรวมในทางขนบธรรมเนียมเดิม แต่ก็ยังมีการแฝงความหมายหรืออิงอยู่ในความ
เป็นปัจเจกกับส่วนรวมที่เราใช้กันอยู่ในปัจจุบัน กล่าวคือ ส่วนรวมที่เคยใช้ในความหมายทาง
ขนบธรรมเนียมเดิมนั้นเทียบได้กับสิ่งที่เป็นของสาธารณะหรือของส่วนรวมในปัจจุบัน ในขณะที่
ปัจเจกนั้นหมายถึงสิ่งที่ไม่ใช่ของสาธารณะหรือส่วนรวมนั่นเอง อย่างไรก็ตามวิธีการให้ความหมาย
ของความเป็นสาธารณะตามหลักการนี้ ถูกมองว่าเป็นการให้คําอธิบายที่ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ
ต่อมา เป็นการอธิบายที่กล่าวว่าความเป็นสาธารณะนั้นสามารถแยกย่อยได้หลายประเภทด้วยกัน
เช่นว่า ถ้าถือหลักขนบธรรมเนียมเดิมแล้วสิ่งที่ถือเป็นสัญลักกณ่ของความเป็นสาธารณะได้ถูกจัดให้
เป็นกลไกทางการเมืองอย่างหนึ่ง เช่น รัฐชาติ โดยในที่นี้ ถ้ามองเข้าไปถึงสภาวะภายในของรัฐชาติจะ
พบว่า สิ่งที่ทําหน้าที่พัฒนาให้สังคมเกิดการแบ่งงานกันนั้นก็คือกลุ่มต่างๆ ที่แยกตัวเป็นอิสระจากรัฐ
ซึ่งก็คือกลุ่มองค่กรอิสระ โดยกลุ่มเหล่านี้ได้สร้างสังคมเกรกฐกิจแบบส่วนรวมขึ้นมาเพื่อให้เกิดความ
เท่าเทียมกับความเป็นสาธารณะในด้านอื่นๆ เช่น การเมืองหรือกาสนา การนําความเป็นส่วนรวมไปผูก
เข้ากับหลักการอื่นๆ นั้นถือว่าเป็นเรื่องทั่วไปที่เกิดขึ้นได้เนื่องจากความเป็นสาธารณะจําเป็นต้องมีการ
เชื่อมโยงเข้ากับสิ่งที่อยู่ในขอบเขตส่วนรวมซึ่งมีโครงสร้างมาจากหลากหลายต้นกําเนิด อย่างเช่น
นโยบายสินค้าและบริการสาธารณะ(公共財)ที่เป็นการหยิบยกแนวคิดทางด้านเกรกฐกาสตร่มาใช้
แนวคิดที่สี่เกี่ยวกับการให้ความหมายของความเป็นสาธารณะ พอล แอนโทนี แซมมวลสัน (Paul
Anthony Samuelson)นักเกรกฐกาสตร่ชาวอเมริกัน ได้ให้คําจํากัดความของสินค้าและบริการสาธารณะ
ไว้ว่าเป็นแนวคิดทั่วไปของความเป็นสาธารณะ ซึ่งถ้าวิเคราะห่โดยอิงอยู่กับทฤกฎีของ Buchanan จะ
พบว่าแนวคิดเกี่ยวกับความเป็นสาธารณะเป็นภาพเค้าโครงที่อยู่ภายใต้ทฤกฎีทางเลือกสาธารณะ ซึ่งเป็น
วิธีการหรือแนวคิดหลักทางเกรกฐกาสตร่ที่ใช้ในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ แต่ในทางตรงกันข้าม
ทฤกฎีทางเลือกสาธารณะนั้นจะเป็นสิ่งที่ให้ผลประโยชน่อย่างมากถ้าวิเคราะห่ในเชิงอํานาจทาง
เกรกฐกาสตร่
6
แนวคิดอย่างที่ห้าคือ การวิเคราะห่ถึงความเป็นสาธารณะที่มีแหล่งกําเนิดที่หลากหลายนั้น ควร
นําเอาหลักการที่เกี่ยวกับความเป็นสาธารณะทั้งหมดมาประกอบเข้าด้วยกัน ซึ่งจะทําให้มองเห็น
โครงสร้างของระบบการทํางานร่วมกันภายในขอบเขตหรือพื้นที่สาธารณะนี้
2.3 สภาพสังคมญี่ปุ่นทั่วไป
คนญี่ปุ่นโดยทั่วไปจะมีทีท่าที่แตกต่างกันอยู่มากระหว่างการอยู่ในที่ที่เป็นส่วนตัวกับการอยู่ใน
สถานะที่เป็นตัวแทนอย่างเป็นทางการขององค่กรหน่วยงานอะไรสักอย่างหนึ่ง ซึ่งสิ่งนี้มักเป็นที่เข้าใจ
ผิดแก่คนต่างชาติที่ไม่เข้าใจเรื่องนี้เพราะคนคนหนึ่งอาจเคร่งขรึมดูเป็นการเป็นงานไปเสียทุกอย่างจนดู
อึดอัด ในขณะที่บุคคลคนเดียวกันนั้นเมื่อไปอยู่ในงานเลี้ยงรับรองที่เป็นส่วนตัว ก็จะกลายเป็นคนที่
พูดจาตรงไปตรงมา และสนุกสนานเรียกว่าเปลี่ยนเป็นคนละคนได้อย่างไม่น่าเชื่อ อีกทั้งเมื่ออยู่ในที่ที่
เป็นทางการจะให้คําตอบต่อข้อเสนอใดๆ ก็ตามอย่างไม่ชัดเจนหรือตอบแบบสองแง่สองง่าม ฟังแล้ว
ไม่รู้ว่าเป็นอะไรกันแน่ แต่พอเป็นเรื่องส่วนตัวของฝ่ายตรงข้ามแล้วก็จะกลายเป็นคนที่เห็นใจคนอื่นได้
อย่างลึกซึ้ง
ในธรรมเนียมของคนญี่ปุ่น ทุกคนจะปฏิบัติตัวตามแบบแผนการปฏิบัติหลายๆ แบบแผนตามแต่
สถานการณ่นั้นๆ แต่โดยทั่วไปตัวตนที่เป็นส่วนตัวของบุคคลจะถูกตัวตนในฐานะสมาชิกคนหนึ่งของ
กลุ่ม หรือหน่วยงานที่ตนสังกัดอยู่ครอบงํา คือจะมีสํานึกในความรับผิดชอบและหน้าที่ที่ตนรับมาสูง
และจะทําตามความคาดหวังของกลุ่มหรือหน่วยงานองค่กรที่มีกับตนและแทบทุกคนจะทําตัวตาม
‚แบบ‛ ตามตําแหน่งหน้าที่ที่ตนรับผิดชอบอยู่ เรียกว่าจะให้ใครมาทําหน้าที่เดียวกันนั้นก็คงจะออกมา
เหมือนกันโดยแทบไม่ต้องระแวงว่าเปลี่ยนคนจะเปลี่ยนอะไรต่อมิอะไรไป ซึ่งทุกคนจะคิดถึง
ผลประโยชน่ของบริกัทเป็นอันดับหนึ่ง เรื่องราวส่วนตัวจะถูกเก็บงําเอาไว้ภายในหรือบางครั้งอาจจะ
ต้องเสียสละชีวิตส่วนตัวเพื่อทําหน้าที่ของส่วนรวม
การกระทําเช่นนี้เรียกว่า Messhihookoo แปลตรงตัวว่าการทําลายเรื่องส่วนตัวและบริการส่วนรวม ดู
จากประวัติกาสตร่ก็อาจกล่าวได้ว่า ชนชาติญี่ปุ่นมักจะเสียสละตัวเองเพื่อประโยชน่ของส่วนรวมไม่ว่า
จะเป็น ลัทธิขงจื๊อ ระบบจักรพรรดิ วิถีนักรบ หรือว่าลัทธินิยมทหาร(บูชิโด) ล้วนแล้วแต่ส่งเสริมให้คน
ละทิ้งความคิดในเรื่องส่วนตัวและทําเพื่อผลประโยชน่ส่วนรวม (ประดิกฐ่ ประดิกฐานุวงก่ : 2539)
ทั้งนี้ ยังมีนักจริยกาสตร่ชาวญี่ปุ่นเสนอแนวความคิดที่สอดคล้องกับแนวคิดของบัณฑิตว่า โดย
ธรรมชาติแล้วมนุกย่เรานั้นมีคุณลักกณะที่ทับซ้อนกันอยู่สองอย่าง คือ การเป็นมนุกย่สังคมกับความ
เป็นปัจเจกชน เราไม่สามารถยึดถือความเป็นปัจเจกชนชนด้านเดียวและดํารงชีวิตอยู่คนเดียวได้ เพราะ
7
อย่างน้อยที่สุดทุกคนย่อมต้องมีความสัมพันธ่กับผู้คนรอบข้าง เช่น ครอบครัว ญาติมิตร รวมถึงสังคม
รอบข้าง ซึ่งเป็นส่วนที่แนวคิดในฝั่งตะวันตกไม่ได้ให้ความสําคัญเท่ากับความเป็นปัจเจกชน โดย
แนวคิดของตะวันตกในช่วงหลังนี้ได้เน้นให้ความสําคัญกับปัจเจกชนเป็นหลัก ซึ่งมีการให้คํานิยามหรือ
จํากัดความหมายของความเป็นปัจเจกชนนี้ไว้ว่า ปัจเจกชนนั้นคือการไม่ยึดติดกับรัฐ ประวัติกาสตร่
ขนบธรรมเนียมปฏิบัติ กาสนา ครอบครัว หรือแม้แต่กลุ่มคณะ เป็นแนวคิดที่ให้ความสําคัญกับตัวเอง
มากกว่าสังคมหรือสาธารณะ (ฮากิ :2000) )
ความทับซ้อนกันของคุณลักกณะในตัวมนุกย่คนหนึ่งๆ ที่ได้กล่าวถึงนั้น วาสึจิ เทะสึโร่ 2 ได้
ยกตัวอย่างขึ้นมา เช่น กรณีความสัมพันธ่ระหว่างสามีกับภรรยา คือก่อนที่จะแต่งงานนั้นความสัมพันธ่
ของทั้งสองคนเป็นแบบระหว่างปัจเจกชนสองคน แต่เมื่อผ่านพิธีการแต่งงานแล้วความสัมพันธ่ระหว่าง
ปัจเจกชนสองคนนั้นก็กลายมาเป็นความสัมพันธ่ของสามีภรรยา กล่าวได้อีกอย่างหนึ่งคือ จาก
ความสัมพันธ่แบบปัจเจกชนของคนสองคนก็กลายมาเป็นความสัมพันธ่แบบสาธารณะเนื่องจากมีการ
เปิดเผยให้สาธารณชนรับรู้ (โฮโซกาว่า :2007)
แต่เดิม แนวคิดเรื่องความเป็นปัจเจกชนนี้ไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้นเองในญี่ปุ่น แต่มีการนําแนวคิดนี้เข้าสู่
ญี่ปุ่นในช่วงต้นสมัยเมจิและเริ่มกลายเป็นแนวคิดกระแสหลักของสังคมหลังจากเสร็จสิ้นสงครามมหา
เอเชียบูรพาหรือช่วงครึ่งหลังของยุคโชวะ (ค.ก.1941-1945)
แท้จริงแล้วญี่ปุ่นเองก็มีสํานึกเกี่ยวกับความเป็นปัจเจกชนเช่นเดียวกับในประเทกทางฝั่งตะวันตก แต่
ด้วยพื้นฐานวัฒนธรรมที่แตกต่างกันทําให้รูปแบบของแนวคิดต่างกันไปด้วย โดยความเป็นปัจเจกชน
ของคนญี่ปุ่นนั้นมีขอบเขตที่กว้างกว่าแนวคิดตะวันตก คือได้รวมความสัมพันธ่ที่หลากหลายในสังคม
ไว้ด้วยกัน อย่างเช่น ความสัมพันธ่ระหว่างพ่อแม่ลูก พี่น้อง รวมถึงความสัมพันธ่ฉันท่สามีภรรยา
ดังนั้นในญี่ปุ่นหน่วยสังคมจะมีความสําคัญมากกว่าคนหนึ่งคน ความเป็นทั้งหมดจะสําคัญมากกว่าเดี่ยว
และสาธารณะจะต้องมาก่อนความเป็นปัจเจกชนเสมอ
เกี่ยวกับเรื่องของการอยู่แบบเป็นเอกเทกและการอยู่ร่วมกันแบบกลุ่มนี้ กาสตราจารย่ชิเอะ นากาเนะ
(Chie Nakane) นักมานุกยวิทยาที่มีชื่อเสียงชาวญี่ปุ่นได้ใช้แนวความคิดของกาสตราจารย่ Raymond
Firth ในเรื่องการจัดระเบียบทางสังคม (Social Organization) มาเป็นแนวทางในการวิเคราะห่สังคม
ญี่ปุ่นในช่วงก่อนและหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
2
วาสึจิ เทะสึโร่ (和辻哲郎) ค.ศ. 1889-1960 นักประวัติศาสตร์, นักคิด และนักจริยศาสตร์ชาวญี่ปุ่น
8
แนวทางความคิดพื้นฐานของเรย่มอนด่เห็นว่า ทุกชุมชนจะมีรูปแบบของการรวมกลุ่มและการ
จัดลําดับชนชั้นของสมาชิกเพื่อให้การดําเนินกิจกรรมในสังคมบรรลุผลสําเร็จ ดังนั้นการจัดระเบียบของ
สังคมหรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือโครงสร้างทางสังคม (Social Organization) นั้นไม่เพียงแต่จะเป็นการอยู่
ร่วมกันเป็นกลุ่มถาวรที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางเพก อายุ และเครือญาติเท่านั้น แต่เป็นสมาคมของสมาชิกที่
มีเป้าหมายร่วมกันในการทํามาหาเลี้ยงชีพ ด้านกาสนา ครอบครัว และนันทนาการอีกด้วย อนึ่ง การ
จัดแบ่งสมาชิกตามอาชีพ ฐานะ ตําแหน่งและการจัดลําดับขั้นตามความเชื่อและขนบธรรมเนียม ซึ่งเป็น
ผลมาจากสถานภาพและบทบาททางสังคมที่แต่ละบุคคลดํารงอยู่ก่อให้เกิดแบบแผนที่ชี้นําให้แต่ละคน
แสดงพฤติกรรมทางสังคมไปตามตําแหน่งที่เขาได้รับ ในขณะเดียวกัน ก็ทําหน้าที่ควบคุมให้คนปฏิบัติ
ตามระบบหรือกลไกทางสังคมนั้นๆ
จิเอะ นากาเนะ ได้กึกกาพร้อมทั้งนําแนวคิดนี้ไปวิเคราะห่สังคมญี่ปุ่นได้ โดยนากาเนะได้เริ่มต้น
กล่าวถึงเงื่อนไขที่ทําให้คนญี่ปุ่นเกิดการรวมกลุ่มกันขึ้น นั่นคือ ในแง่หนึ่งทุกคนในสังคมนี้จะมี
ตําแหน่งในสังคม ตําแหน่งเหล่านี้จะเป็นสิ่งที่สังคมกําหนดให้เพื่อให้ผู้นั้นแสดงบทบาทตาม
วัตถุประสงค่ เช่น นายซามุไรเป็นสมาชิกของสังคมมหาวิทยาลัยโตเกียว อาจารย่โมจิโกะสอนวิชา
สังคมวิทยา ดํารงตําแหน่งเป็นรองกาสตราจารย่ นายโดเรมอนเป็นพนักงานการเงินในธนาคารมิตซุย
ตําแหน่งทางสังคมในกรณีนี้เป็นเสมือนสิ่งที่ได้มาโดยกําเนิดและได้มาด้วยความยากลําบาก
ในสังคมญี่ปุ่น ความสําคัญของตําแหน่งประเภทนี้มีความสําคัญยิ่ง ทําให้มีการมองกันว่า คนญี่ปุ่นมี
ลักกณะเป็นแบบ ‚กลุ่มนิยม‛ กล่าวคือเป็นตําแหน่งที่ทุกคนในกลุ่มจะยอมรับและถือว่าเป็นคนในหมู่
พวกเดียวกันไม่ว่าเขาจะมีตําแหน่งส่วนตัวในองค่การสูงรักและภูมิใจที่ได้เป็นต่ําเพียงใด ทุกคนจะสมาชิกของกลุ่มนั้น ด้วยเหตุนี้ จะเห็นได้ว่าเมื่อมีการแนะนําตัวจะพบว่าคนจะแนะนําตนเองว่า‚ผม
ทํางานบริกัทโตโยต้า‛ ‚ผมมาจากบริกัทซูซูกิ‛ มากกว่าจะเน้นว่า ‚ผมเป็นผู้จัดการ‛ ‚ผมเป็น
กาสตราจารย่สาขาพฤกกากาสตร่‛ เพราการที่อ้างว่าเป็นสมาชิกของบุคคลผู้นั้นที่เขามีองค่การหรือ
หน่วยงานสังกัดอยู่ ด้วยเหตุนี้เราจะพบเสมอว่าญี่ปุ่นจะพูด ‚บริกัทของเรา‛ ติดปาดเสมอ เพื่อเป็นการ
เน้นว่า นี่คือกลุ่มของเรา ซึ่งจะแตกต่างจากกลุ่มอื่น
มีคําญี่ปุ่นที่ว่า ‚อุจิ (家)‛ หมายถึงบ้านของฉัน หรือสถานที่ทํางาน องค่กร หรือโรงเรียน
มหาวิทยาลัยที่เขาสังกัดอยู่ ซึ่งจะแตกต่างจากคําว่า ‚โอะตาคุ(お宅)‛ หมายถึงบ้านของคุณ หรือ
หมายถึงสถานที่ทํางาน องค่กร โรงเรียน มหาวิทยาลัยของบุคคลที่สอง ส่วนคําว่า Keisha เป็นเสมือน
สัญลักกณ่ที่บุคคลหนึ่งเป็นสมาชิกของกลุ่มหนึ่งที่เป็นเส้นแบ่งออกจากกลุ่ม จึงเป็นเสมือนสัญลักกณ่
ของการตระหนักถึงกลุ่มที่ตนสังกัดอยู่ นั่นหมายความว่า บริกัทที่เขาเป็นสมาชิกนั้นจะเป็นทุกสิ่งทุก
9
อย่างของการดํารงชีวิตอยู่ของบุคคลนั้น และมีอิทธิพลต่อวิถีชีวิตโดยจะก่อให้เกิดอารมณ่ร่วมในขณะที่
เข้าร่วมในกิจกรรมทุกสิ่งทุกอย่างภายในกลุ่มนั้น (ดํารง ฐานดี :2545)
ความสัมพันธ่ระหว่างส่วนตัวกับส่วนรวมอาจจะอธิบายได้ในแง่ของภายในหมู่เหล่า – อุจ(ิ ภายใน)
โซโตะ(ภายนอก) หรือทาเทมาเอะ(ภายนอก) กับฮนเนะ(ความรู้สึกจริง) (ประดิกฐ่ ประดิฐกานุวงก่ :
2539) ซึ่งวิธีคิดนี้ตรงกับแนวคิดของคาโต้ โนริฮิโระ ที่วา่
‚แนวคิดของสาธารณะกับปัจเจกชนของคนญี่ปุ่นนั้นมีความเชื่อมโยงกับแนวคิดอื่นๆ ด้วย เช่น
การแสดงออกภายนอกกับความรู้สึกที่แท้จริง –ทาเทมาเอะกับฮนเนะ (หน้าและจิตใจ) รวมถึงอุจิ
โซะโตะ (ข้างในข้างนอก) ซึ่งแนวคิดในกลุ่มนี้จะมองว่าความเป็นปัจเจกชนของคนญี่ปุ่นนั้นหมายถึง
สิ่งที่ไม่ใช่สาธารณะ กล่าวคือมีการแยกออกจากกัน แต่ในทางตรงกันข้ามถ้าพิจารณาจากแนวคิดทางคติ
ชนวิทยาแล้วจะเน้นให้ความสําคัญกับความเป็นปัจเจกชนมากกว่า (คาโต้ : 1999)
จากด้านบนนี้ ขอยกตัวอย่างอันได้แก่ความสัมพันธ่แบบอุจิกับโซโตะ
ในภากาญี่ปุ่น คําว่า อุจิ ส่วนใหญ่หมายถึงกลุ่มที่ตนสังกัดอยู่ เช่นในคําว่า มิอุจิ หมายถึงครอบครัว
ญาติพี่น้อง กลุ่มเพื่อน หรือเพื่อนร่วมงาน ไม่ใช่บุคคลใดบุคคลโดยเฉพาะเหมือนคําว่า Private ใน
ภากาอังกฤก ในประเทกญี่ปุ่นนั้นคุณค่าของขอบเขตส่วนตัวอันเป็นอิสระจากกลุ่มนั้นยังไม่เป็นที่
ยอมรับ ฉะนั้นจึงไม่ค่อยมีการยอมรับคุณค่าของบุคลิกภาพส่วนบุคคล เรื่องนี้เกี่ยวข้องกับการขาด
ความคิดในเรื่องเสรีภาพส่วนบุคคลซึ่งเน้นคุณค่าของการเกรงใจกันอย่างจริงจังในญี่ปุ่นซึ่งได้กล่าว
มาแล้ว การที่ความคิดในเรื่องอิสรเสรีแบบตะวันตกไม่สามารถเจริญเติบโตในญี่ปุ่นได้นั้นล้วนมีสาเหตุ
มาจากข้อนี้ด้วย
ในญี่ปุ่นนั้นไม่เพียงแต่จะปรากจากการสร้างสรรค่เสรีภาพส่วนบุคคลที่เป็นอิสระจากกลุ่ม หากยัง
ขาดการคํานึงถึงส่วนรวมซึ่งอยู่เหนือปัจเจกชน และกลุ่มแต่ละกลุ่ม นี่ก็คงจะเกิดจากการที่คนญี่ปุ่น
แบ่งแยกชีวิตออกเป็นอุชิ และโซโตะ และวางแนวการปฏิบัตติ นที่แตกต่างกันในแต่ละสถานการณ่โดย
ไม่คิดว่าเป็นเรื่องแปลกประหลาดแต่อย่างใด คนญี่ปุ่นมีพฤติกรรมที่สมเหตุสมผลในสถานการณ่ที่ต้อง
ใช้ความเกรงใจ แต่ในขอบเขตที่ต้องแสดงความเกรงใจนี้กลับถือว่าเป็นอุจิ เมื่อเทียบกับโลกส่วนนอก
ที่ไม่จําเป็นต้องใช้ความเกรงใจซึ่งก็ไม่ใช่ Public ในความหมายที่แท้จริง
โดยทั่วไปวิธีการแบ่งข้างในกับข้างนอกนั้นขึ้นอยู่กับแต่ละบุคคล และเนื่องจากวิธีนี้เป็นที่ยอมรับใน
สังคมจึงทําให้จิตวิญญาณแห่งส่วนรวมไม่เจริญเติบโต การแบ่งแยกระหว่างข้างในกับข้างนอกนั้น
10
ชัดเจน แต่การแบ่งแยกระหว่างส่วนตัวกับส่วนรวมไม่ชัดเจน จึงทําให้เกิดการสับสนระหว่างส่วนตัว
กับส่วนรวม ดังนั้นจึงต้องพูดว่าเป็นเรื่องธรรมดาที่บางครั้งของส่วนรวมถูกนํามาใช้เป็นส่วนตัว
อย่างไรก็ตาม ความคิดดั้งเดิมที่ทําหน้าที่ทางสังคมได้เทียบเท่ากับการคํานึงถึงส่วนรวมคือ โอยะเกะ
หรือ ฮงเกะนั้นเดิมหมายถึงพระจักรพรรดิและพระราชวงก่ เนื่องจากโอยะเกะและฮงเกะนั้นล้วนเป็น
พวกที่มีเชื้อสายสืบทอดกันมานานแล้ว ดังนั้นจึงไม่สามารถแสดงความหมายของส่วนรวมใน
ความหมายที่แท้จริงซึ่งอยู่เหนือกลุ่มไปได้ และมักจะเป็นสาเหตุให้เกิดการแข่งขันระหว่างกลุ่มอื่นๆ ใน
พวกเดียวกันในการดึงเอาโอยะเกะเข้ามาเป็นพวกของตนในฐานะเป็นกลุ่มที่มีมาแต่ดั้งเดิม แม้กระนั้นก็
มองได้ว่าโอยะเกะเป็นปัจจัยป้องกันไม่ให้กลุ่มอื่นๆ ขยายอํานาจจนกลายเป็นเผด็จการและช่วยยับยั้ง
การขัดแย้งกันในระหว่างกลุ่มพวกเดียวกันได้ในระดับหนึ่ง ด้วยเหตุนี้เองเมื่อต้องแปลคําว่า Public เป็น
ภากาญี่ปุ่นจึงใช้คําว่าโอยะเกะ โดยเฉพาะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นับตั้งแต่ความหมายของโอยะ
เกะได้ถูกแยกออกมาจากจักรพรรดิและพระราชวงก่ ได้มีการพูดถึงจิตวิญญาณแห่งส่วนรวมใน
ความหมายแบบตะวันตกกันอย่างแพร่หลาย แม้กระนั้นก็ตามไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าในจิตใจของคน
ญี่ปุ่นยังมีจิตวิญญาณของโอยะเกะที่มีมาแต่โบราณอยู่ พระจักรพรรดิและราชวงก่ได้ถอยฉากเข้าไปอยู่
เบื้องหลังแล้ว แต่รัฐบาลก็ยังคงเป็นกูนย่กลางของกลุ่มต่างๆ อยู่ และกลุ่มที่มีอํานาจมากที่สุดก็ยังคงเป็น
โอยะเกะอยู่นั่นเอง (โดอิ ทาเคโอะ : 2538)
อีกหนึ่งปัจจัยที่ทําให้คนญี่ปุ่นมีความพิเกกแตกต่างจากชาติอื่นๆ ก็คือแนวความคิดของ ‘กิริ(義理)’
กับ ‘นินโจ(人情)’ ซึ่งมีนักวิชาการหลายท่านทั้งไทยและญี่ปุ่นได้เขียนอธิบายและให้ความหมาย
เกี่ยวกับแนวความคิดนี้มากมาย แต่ในที่นี้จะอ้างอิงคําอธิบายของกาสตราจารย่ ดร.ปรียา อิงคาภิรมณ่ ที่
ได้เขียนไว้ในหนังสือชื่อ ‘ญี่ปุ่นบทเรียนหลังคาบน้ําตา หัวใจไม่แพ้ที่โลกต้องเอาเยี่ยงอย่าง...’ โดยสรุป
ใจความได้ดังนี้
คําว่า 義理 หรือ ‘กิร’ิ ก็คือหน้าที่ทางสังคมหรือสิ่งที่คนทั่วไปเห็นว่าถูกต้อง เมื่อคนญี่ปุ่นบอกอีก
ฝ่ายว่าเป็นกิริที่จะต้องทํา นั่นหมายความว่าสิ่งที่เขาจะทํานั้นถือถือว่าเป็นหน้าที่ทางสังคม ที่คนคนนั้น
จะต้องปฏิบัติให้ได้ตามคําเรียกร้องจากสังคม และยังเป็นหน้าที่ที่มีความสัมพันธ่เกี่ยวข้องกับคนอื่นๆ
ในสังคมที่ตนอากัยอยู่
ในพจนานุกรม広辞苑 หรือ ‘โคจิเอง’ อธิบายไว้ว่า ‘กิร’ิ ใช้ได้หลายความหมาย เช่น
1. สิ่งที่ถูกต้องตามทํานองคลองธรรม
2. สิ่งที่มีเหตุมีผล
3. ตามคําสอนของขงจื๊อ ‘กิร’ิ คือถนนสายถูกต้องที่ทุกคนควรเดินตาม
11
4. สมัยเอโดะหรือสมัยซามูไรนั้นเชื่อว่า ในการคบหาสมาคมกับคนอื่นนั้นย่อมก่อให้เกิด
มาและในความสัมพันธ่ที่ว่านั้นอาจจะแสดงออกด้วยการกระทํา ความสัมพันธ่ในรูปแบบต่างๆ ตาม
ตลอดจนเรื่องราวต่างๆ ที่อาจจะไม่ชอบใจแต่ก็ต้องฝืนใจทํา
5. ความสัมพันธ่ที่มีความผูกพันต่อกันและกัน ทั้งที่ไม่ใช่สายเลือดเดียวกัน
องที่มาร่วมรบ ดังนั้นกิริเป็นความสัมพันธ่ที่แน่นแฟ้น คล้ายสายสัมพันธ่ที่มีระหว่างซามูไรกับลูกน้
กิริจึงเป็นแบบฉบับที่ถือปฏิบัติจนกลายเป็นขนบธรรมเนียมประเพณีซึ่งผู้ที่เข้ามาสมัครเป็นลูกน้องของ
ซามูไรจะต้องปฏิบัติตอบแทนซามูไร หรือเจ้านายที่มีบุญคุณต่อตนเองและครอบครัว
จนหน้าที่ทางสังคมแม้มองจากภายนอก คนรุ่นใหม่อาจจะเริ่มปฏิเสธค่านิยม ความนึกคิดตลอด
ดั้งเดิมที่ว่านี้ก็ตาม แต่คนญี่ปุ่นในปัจจุบันส่วนใหญ่ที่ยังอากัยและทํางานอยู่ในญี่ปุ่นนั้นก็ยังมีพื้นฐาน
ความนึกคิดดั้งเมที่ไม่ได้เปลี่ยนแปลงมากนัก ทั้งความสัมพันธ่ระหว่างเจ้านายกับลูกน้องซึ่งมีความ
ผูกพันและต่างต้องพึ่งพาอากัยซึ่งกันและกัน ความรับผิดชอบและหน้าที่ที่พนักงานบริกัทมีต่อบริกัท
ตลอดจนหน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อครอบครัว
ในญี่ปุ่น คนที่มีความตระหนักและให้คุณค่าความสัมพันธ่ที่ต่างฝ่ายต่างมีต่อกันนั้นถือว่าเป็นเรื่อง
ของหน้าที่และความรับผิดชอบที่พึงมีต่อสังคมร่วมกัน และยังถือว่าเป็นจรรยาบรรณชั้นสูงที่มีคุณค่า
ควรแก่การสืบทอดต่อให้คนรุ่นต่อๆ ไป และเป็นคุณธรรมที่ดีงามที่คนในสังคมญี่ปุ่นยอมรับ ใครก็
ตามที่เพิกเฉย ไม่ปฏิบัติตามหน้าที่และความรับผิดชอบที่ตนพึงมีต่อสังคม ไม่เพียงแต่จะมีผลกระทบต่อ
คนคนนั้น ทําให้คนอื่นไม่เชื่อถือ ไม่ยอมรับเท่านั้น แต่ยังอาจถึงขั้นที่ไม่มีใครให้ความสนับสนุนและ
คบค้าสมาคมด้วย
ตัวอย่างที่ดีคือกรณีโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุคุชิมะที่เกิดความเสียหายหลังเหตุการณ่แผ่นดินไหวและ
คลื่นยักก่สึนามิ มีข่าวเกี่ยวกับสามีชาวญี่ปุ่นที่ทํางานในโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ได้บอกกับภรรยาว่าเขาต้อง
ไปปฏิบัติหน้าที่ และภรรยาจะเป็นห่วงและเกร้าสลดใจก็ตาม แต่ภรรยาก็ไม่อาจยับยั้งสามีเพราภรรยา
เข้าใจดีในหน้าที่ทางสังคมที่สามีจะต้องทํา
หรือกรณีของโคโนะที่ทํางานในโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ ซึ่งเป็นข่าวลงในเอเอฟพีที่เว็บไซด่ผู้จัดการ
นําไปลงเมื่อวันที่ 3 เมกายน พ .ก.2554 ก็เช่นกัน ซึ่งในนี้ได้หยิบยกเฉพาะบางส่วนขึ้นมาเพื่อชี้ให้เห็นว่า
คนญี่ปุ่นยังมีความรับผิดชอบในหน้าที่ และยอมเสียสละชีวิตตัวเองเพื่อประเทกชาติ
-ข่าวจากเอเอฟพีด้วยความที่เป็นโสดและไม่มีบุตรภรรยาต้องดูแล โคโนะจึงคิดว่าเป็นหน้าที่ที่จะต้องรับภารกิจ
ดังกล่าว
12
‚การสลับเวรทํางานที่โรงไฟฟ้าค่อนข้างลําบากขึ้นเรื่อยๆ เพื่อนของผมก็มีครอบครัวต้องดูแล
ทั้งนั้น‛ โคโนะกล่าว
แต่โคโนะไม่ใช่แค่พนักงานของโรงไฟฟ้าเท่านั้น เขายังเป็นบุตรชายคนโตของครอบครัวด้วย
และเมื่อแจ้งให้พ่อแม่ทราบว่าจะกลับไปทํางานอีกครั้ง เขาจึงพยายามพูดถึงความเสี่ยงให้น้อยที่สุด แต่ก็
ไม่อาจหลอกลวงพวกท่านได้
บิดาของโคโนะซึ่งเคยเป็นวิกวกรไฟฟ้าที่ฟุคุชิมะ ไดอิจิ อยู่หลายปี บอกให้เขาทําตามหัวใจ
ตนเอง ส่วนมารดากล่าวเพียงว่า ‚ไปแล้วให้รีบกลับมาเร็วที่สุดล่ะ‛
โคโนะปฏิบัติงานที่กูนย่บัญชาการโรงไฟฟ้าซึ่งตั้งอยู่บนหอคอยทนแผ่นดินไหวและจะต้อง
สัมผัสสารกัมมันตรังสีในแต่ละชั่วโมงเท่ากับที่คนทั่วไปได้รับในเวลา 1 ปี
โคโนะจะต้องทํางานต่อเนื่องหลายวัน ก่อนที่จะได้หยุดพัก 2-3 วัน และประทังชีวิตด้วยอาหาร
กระป๋องหรือขนมธัญพืชอัดแท่งที่ให้พลังงานสูง
‚คนญี่ปุ่นเรามีสํานวนว่า กินข้าวถ้วยเดียวกัน คนเหล่านี้เป็นเพื่อนที่ผมจะร่วมทุกข่ร่วมสุขด้วย
ผมจึงขอไปทํางานร่วมกับพวกเขา ‛ โคโนะกล่าว
อีกด้านหนึ่ง คําที่ใช้คู่กับคําว่ากิริแต่มีความหมายแตกต่างกันคือ ‘นินโจ’ (人情) คืออารมณ่
ความรู้สึกทั่วไปของมนุกย่ ซึ่งก็คือ ความรัก ความผูกพัน ความสงสาร ความเกร้าใจ และความเห็นใจที่
มีต่ออีกฝ่าย เช่น ความรักของพ่อแม่ที่มีต่อลูก ความรักของสามีหรือภรรยาที่มีต่อคู่รัก ถ้าเมื่อไร ‘นินโจ’
มีความสําคัญมากกว่า ‘กิร’ิ ก็อาจจะก่อให้เกิดปัญหาได้จึงจําเป็นที่จะต้องแยกออกจากกัน
ตัวอย่างที่แสดงให้เห็นชัดถึงการแสดงออกของนินโจหรือความรู้สึกเกร้าเห็นใจที่มีต่อกันจากภัย
พิบัติ เช่นใจความหนึ่งของบทความที่ซะโตเขียนว่า
‚ตามโรงแรมส่วนใหญ่จะเปิดล็อบบี้ไว้ให้คนเข้าไปแวะพักฟรี ใครจะแวะนอนที่ล็อบบี้
โรงแรมก็ได้ ไม่มีใครว่าอะไร‛
หรือข่าวที่ว่า หลังแผ่นดินไหว ข้าวของในร้านตกกระจายเต็มร้าน แล้วมีข่าวว่าเด็กผู้ชายคนหนึ่ง
แทนที่จะหยิบเอาของที่หล่นโดยไม่ต้องจ่ายเงินก็ได้ แต่เขากลับหยิบของที่เขาอยากได้จากบนพื้นแล้ว
เอาไปจ่ายเงินที่แคชเชียร่นั้นเป็น ‘ความรู้สึกที่เห็นอกเห็นใจ’ และไม่ซ้ําเติมกัน หรืออารมณ่ความรู้สึกที่
เห็นใจซึ่งก็คือ ‘นินโจ’ นั่นเอง
13
2.4 ทฤษฎีประกอบ
2.4.1 โครงสร้างสังคม
ความเข้าใจพื้นฐานโครงสร้างสังคม (Social Structure)
โครงสร้างสังคมหมายถึง การจัดระเบียบทางสังคม (Social Order) ในรูปแบบต่างๆ ทุกอย่างของ
มนุกย่ที่สามารถแยกออกมาได้ เช่น กลุ่ม กระบวนการ ฐานะทางสังคม ตลอดจนสถานภาพ บทบาท
และบรรทัดฐานทางสังคม นักมานุกยวิทยาหลายคนได้ใช้ความหมายของโครงสร้างสังคมสลับแทนกัน
ได้กับองค่กรทางสังคม (Social Organization) และหลายครั้งก็แยกไม่ออกจากความหมายของระบบ
สังคม
ขณะเดียวกัน ก็มีนักสังคมวิทยาและนักมานุกยวิทยาบางคนที่ใช้ความหมายของโครงสร้างสังคมที่
มีลักกณะเฉพาะเจาะจงในการวิเคราะห่ปรากฏการณ่ทางสังคม ในกรณีนี้ความหมายของโครงสร้าง
สังคมจะไม่ใช่เรื่องของปรากฏการณ่หรือรูปแบบของการจัดระเบียบทางสังคม แต่จะหมายถึงความคิด
พื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ่ทางสังคม(Social Relations) ที่กําหนดรูปแบบสังคมและแนวปฏิบัติที่
เป็นไปได้ในการจัดองค่กรทางสังคม เอ็ดมัน ลีช (Edmund Leach) นักมานุกยวิทยาเน้นว่าโครงสร้าง
สังคมเป็นกระบวนการความคิดเกี่ยวกับการจัดสรรอํานาจระหว่างบุคคลและกลุ่ม
การโต้เถียงเรื่องระดับความคิดเกี่ยวกับโครงสร้างสังคม
ข้อถกเถียงที่สําคัญเกี่ยวกับโครงสร้างสังคมคือ ความคิดดังกล่าวเป็นลักกณะความจริงเชิงประจักก่
ที่มองเห็นได้ในพฤติกรรมที่เป็นจริงในชีวิตสังคม หรือว่าเป็นเพียงรูปแบบนามธรรมที่ผู้กึกกาสร้าง
ขึ้นมาเพื่อใช้ในการวิเคราะห่ในทางมานุกยวิทยา อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ (Alfred Radcriffe-Brown)
เจ้าทฤกฎีสํานักโครงสร้างและหน้าที่ชาวอังกฤก สนับสนุนแนวคิดแบบแรก ขณะที่โบรนิสเลา มาลิเนา
สกี(Bronislaw Malinowski)ฒนธรรมอย่างรวมๆ ว่าประกอบไปด้วยวัฒนธรรมทางวัตถุ ระบบมองวั
คุณค่า และพฤติกรรมที่เป็นจริง อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ แยกวัฒนธรรมออกจากระบบสังคมและ
โครงสร้างสังคม เขาเห็นว่าวัฒนธรรมเป็นมาตรฐานของพฤติกรรมความคิดและความรู้สึก แต่
โครงสร้างสังคมคือภาพรวมของความสัมพันธ่ของผู้คนในระยะเวลาหนึ่ง จึงเป็นลักกณะหยุดนิ่งของ
ระบบสังคม ด้วยเหตุนี้ทําให้ อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ มองโครงสร้างสังคมว่าใช้แทนองค่กรทาง
สังคมได้
ในทางสังคมวิทยาก็มีนักวิชาการเห็นด้วยกับความคิดเช่นนี้มากมาย จอร่จ โฮแมนส่(George
Homans) เห็นว่าโครงสร้างทางสังคมก็คือ พฤติกรรมทางสังคมที่คงทน เช่น องค่กรทางการ ตําแหน่ง
14
และบทบาทที่สลับซับซ้อน และการกระจายของอาชีพและรายได้ในระบบระดับชนชั้นทางสังคม เป็น
ต้น โรเบิร่ต เมอร่ตัน(Robert K. Merton) มองโครงสร้างสังคมว่าให้ภาพของการมีอํานาจอิทธิพลและ
เกียรติยก อันจะเป็นโครงสร้างในการควบคุมทางสังคม และโครงสร้างของคนในตําแหน่งและฐานะ
ต่างๆ การมองโครงสร้างสังคมในลักกณะนี้คือ การให้ความสําคัญกับเนื้อหาสังคมนั่นเอง
แต่อีกฝ่ายเห็นว่า โครงสร้างสังคมมิใช่ภาพรวมที่มองเห็นได้ตามแบบอย่างของส่วนต่างๆ ของ
สิ่งมีชีวิต หากแต่เป็นลักกณะนามธรรม หรือหลักตรรกะที่เป็นรากฐานส่วนลึกของสังคม ในทาง
มานุกยวิทยา โคล้ด เลวี สเตราส่ นักมานุกยวิทยาชาวฝรั่งเกสเรียกสิ่งนี้ว่า โครงสร้างส่วนลึก (Deep
Structure)
เอ็ดมัน ลีช เห็นว่าโครงสร้างสังคมก็คือ สิ่งที่นักมานุกยวิทยาสร้างขึ้นมาตามหลักตรรกะเพื่อใช้ใน
การวิเคราะห่สังคม ในทางสังคมวิทยาก็มี ทาลค็อต พาร่สันที่เห็นว่าโครงสร้างสังคมเป็นระบบที่เป็น
สถาบันของบรรทัดฐานและคุณค่าซึ่งควบคุมโลกทักน่ของคน โดยกล่าวว่าโลกทักน่ของคนไม่ใช่เรื่อง
อุตวิสัย อารมณ่ หรือทักนคติของปัจเจกบุคคล แต่เป็นคุณค่าทางสังคมที่มีพื้นฐานอยู่ที่สถาบันทาง
สังคม
2.4.2 แนวคิดทางสังคมวิทยา
สังคมวิทยาสํานักโครงสร้าง-หน้าที่นิยม
โดยพื้นฐานแล้วนักสังคมวิทยากลุ่มนี้มองว่า ‚สังคม‛ เปรียบเหมือนระบบกลไกอันหนึ่งซึ่ง
คล้ายคลึงกับองค่อินทรีย่ ซึ่งมีพลวัติจากแรงผลักดันทางสังคม ระบบสังคม(Social System) ถูกมองว่า
ประกอบไปด้วยสถาบันสังคมหรือระบบย่อยๆ ต่างๆที่ทํางานเชื่อโยงสัมพันธ่กันและกัน และต่างต้อง
พึ่งพาอากัยกันในเชิงหน้าที่อย่างเป็นแบบแผน
การขัดเกลาทางสังคมถูกพิจารณาว่าเป็นกลไกเชิงสถาบันที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสถาบัน
กับกลุ่มสังคมขนาดใหญ่และระหว่างสถาบันสังคมกับปัจเจก สถาบันสังคมหลักๆ โดยเฉพาะสถาบัน
ครอบครัว สถาบันการกึกกา สถาบันกาสนา และสถาบันสือ่ มวลชล ถูกพิจารณาว่าคือหน่วยทางสังคมที่
ทําหน้าที่เป็นกลไกสําคัญในการหล่อหลอมขัดเกลาสมาชิกใหม่ให้รับเอา ‚ข้อตกลงร่วมต่างๆ ‛ ที่ถือ
เป็นกฎเกณฑ่ บรรทัดฐานต่างๆ ทางสังคมสําหรับการยึดถือปฏิบัติในฐานะที่เป็นสมาชิกส่วนหนึ่งของ
สังคม
กล่าวโดยย่อ ในสายตาของนักสังคมวิทยาสํานักโครงสร้าง-หน้าที่นิยม การขัดเกลาทางสังคมจึง
หมายถึงกระบวนการของการถ่ายทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งซึ่งเป็นกระบวนการ
15
ถ่ายทอด-ส่งผ่าน กฎเกณฑ่ ค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคมให้กับสมาชอกในสังคมแบบทางเดียว ที่มี
ลักกณะค่อนข้างแน่นอนตายตัว โดยผ่านหน่วยทางสังคมต่างๆ เช่น ครอบครัว กาสนา โรงเรียน และ
สื่อมวลชน ภายใต้บริบทเชิงโครงสร้างและความสัมพันธ่ทางสังคมภายในหน่วยงานดังกล่าว กลไกของ
การขัดเกลาทางสังคมจะทําการบ่มเพาะหล่อหลอมปัจเจกในฐานะสมาชิกใหม่ โดยเฉพาะเด็กและ
เยาวชนโดนทําการถ่ายทอดพฤติกรรมทางสังคมต่างๆ ให้ซึบซับเข้าสู่ภายในตัวตนของพวกเขา จน
กลายเป็นส่วนหนึ่งของการดําเนินชีวิตทางสังคม (จามรี เชียงทองและคณะ :2548)
ทฤกฎีโครงสร้างและหน้าที่นิยม
การกึกกาพฤติกรรมของมนุกย่ของนักมานุกยวิทยารุ่นเก่าๆ มักจะใช้วิธีการทางประวัติกาสตร่สืบ
ย้อนเป็นส่วนใหญ่ ต่อมาในช่วงกลางของกตวรรกที่ 20 การกึกกาวัฒนธรรมได้ขยายขอบข่ายไปมาก
เพราะเกิดแนวคิดใหม่ๆ ขึ้นมากมาย วิชาการทางด้านสังคมกาสตร่ก็ได้แตกแขนงไปมากมายเช่นกัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งทางด้านมานุกยวิทยาวัฒนธรรมนั้นได้เกิดแนวคิดและวิธีการกึกกาใหม่ๆ ขึ้นหลาย
แนวคิด แนวทางกึกกาวัฒนธรรมใหม่ๆ ได้เกิดขึ้นในช่วงนี้ นั่นคือ กึกกาพฤติกรรมของคนในสังคมใน
รูปแบบบูรณาการหน้าที่ของโครงสร้างของสังคมทุกๆ โครงาร้สงะต้องกึกกาหผไปขณะเดียวกันให้
สัมพันธ่กัน จึงจะเข้าใจสังคมหนึ่งๆ ได้อย่างลึกซึ้งและถ่องแท้ เพราะสังคมหนึ่งๆ ประกอบขึ้นด้วย
โครงสร้างต่างๆ โครงสร้างของสังคมก็คือส่วนประกอบของสังคมนั่นเอง แต่ละโครงสร้างจะทําหน้าที่
ประสานสัมพันธ่กัน ถ้าขาดโครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งสังคมก็จะล้มหรือล่มสลาย หรือหาก
โครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งทรุดโทรมหรือเสื่อมสลายลง โครงสร้างนั้นก็จะทําหน้าที่ไม่ได้ดีจะเป็นผล
ตกกระทบไปถึงโครงสร้างอื่นๆ เป็นลูกโซ่ สุดท้ายจะทําให้สังคมนั้นเสื่อมทรามหรือล่มสลายลงไป แต่
ในความเป็นจริงแล้วสังคมจะไม่เคยล่มสลายเลย มันมีวิธีการปรับตัวของมันเองได้ กล่าวคือ เมื่อ
โครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งของสังคมเกิดเสื่อมทรามลงและทํางานล้มเหลวหรือบกพร่องไป สังคมจะ
หยุดชะงักระยะหนึ่ง และจะมีการเยียวยารักกาหรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างนั้นให้ทําหน้าที่ได้ดีดังเดิม
เสียก่อน สังคมจึงจะก้าวต่อไป สังคมจะมีการขยับปรับเปลี่ยนโครงสร้างที่บกพร่องเสมอสังคมจึงไม่
ตาย แต่อาจเกิดการชะงักงันไปชั่วระยะเวลาหนึ่งก่อนจะเดินก้าวต่อไป ลักกณะนี้เป็นการปรับสมดุล
ของตัวเอง คือ ลักกณะการเคลื่อนไหวและไม่หยุดนิ่ง
การกึกกาสังคมในแนวโครงสร้างและหน้าที่สัมพันธ่นี้เป็นแนวคิดของ อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่
ที่ได้เสนอแนวคิดไว้ในข้อเขียนของเขาชื่อ ‚On Social Structure‛ และในหนังสือชื่อ (Structure and
Function in Primitive Society รด แร็ดคลิฟโดย อัลเฟ -บราวน่ ได้กล่าวว่า สังคมเปรียบเสมือนอินทรีย่
16
ซึ่งมีชีวิต มีการเกิด เจริญเติบโต เจ็บป่วยได้ รักกาได้ เมื่อหายแล้ก็จะก้าวเดินต่อไปได้ ร่างกายมนุกย่มี
อวัยวะเป็นส่วนประกอบเพื่อการคงอยู่ สังคมก็มีโครงสร้างเพื่อการดํารงตน ทั้งอวัยวะของคนและ
โครงสร้างของสังคมต่างก็ทําหน้าที่ประสานสัมพันธ่กันเพื่อผดุงร่างกายและสังคม หากสังคมเกิดความ
ขัดแย้งกันในโครงสร้างอันเนื่องมาจากการขัดกันในการทําหน้าที่ที่ไม่สอดคล้องกันทําให้สังคมชะงัก
งันหรือพัฒนาไปได้ช้า สังคมก็จะหาทางแก้ไขหรือปรับเปลี่ยนโครงสร้างของตนเองเพื่อการดํารงอยู่
หรือพัฒนาก้าวหน้าต่อไป ร่างกายมนุกย่นั้นเพื่อเจ็บป่วยลงสามารถเยียวยาได้เช่นกัน อวัยวะร่างกาย
บางส่วนก็สามารถปรับเปลี่ยนหรือแทนที่ได้ แต่ก็ทําไม่ได้ทั้งหมดทุกส่วน โครงสร้างหลักๆ ไม่
สามารถเปลี่ยนได้ เช่น อวัยวะภายใน ดังนั้นคนจึงตายได้ แต่สังคมไม่มีวันตาย หลังจากที่ได้ปรับเปลี่ยน
ตัวให้พัฒนาขึ้นแล้วสังคมจะก้าวเดินต่อไปได้
ในด้านของการพัฒนานั้น สังคมสามารถพัฒนาจากสังคมรูปแบบหนึ่งเป็นอีกรูปแบบหนึ่งได้ เช่น
สังคมโรมันเปลี่ยนเป็นสังคมอิตาเลี่ยนสมัยใหม่ได้ แต่ว่าร่างกายของสิ่งมีชีวิต ไม่สามารถพัฒนาจาก
สัตว่ชนิดหนึ่งมาเป็นสัตว่อีกชนิดหนึ่งได้
การทํางานไม่ประสานสอดคล้องกันของร่างกายสิ่งมีชีวิต จะเห็นได้จากการที่ร่างกายของสิ่งมีชีวิต
ที่เกิดโรคภัยไข้เจ็บจนทําหน้าที่ประสานกับอวัยวะอื่นๆ ไม่ได้ เช่น หัวใจเกิดโรคไม่สามารถสูบฉีด
โลหิตได้ โลหิตก็ไม่ไปหล่อเลี้ยงร่างกาย ร่างกายก็ล้มเจ็บหรือตายไป ส่วนการทํางานไม่สอดคล้องกัน
ของสังคมทําให้สังคมชะงักงัน จะเห็นได้จากตัวอย่างเช่น นักการเมืองไม่ทําหน้าที่ที่พึงทํา นักการเมือง
คดโกง นักการเมืองทะเลาะเบาะแว้งไม่ทํางานทําให้เกรกฐกิจตกต่ําลง คนยากจนลง ไม่มีงานทํา เด็กๆ
ไม่ได้รับการกึกกา ประชาชนหันไปพึ่งไสยกาสตร่ สุดท้ายก็จะเลือกผู้แทนที่แจกเงินเข้ามาบริการ
บ้านเมือง บ้านเมืองก็จะเสื่อมทรามลง จนในที่สุดก็เกิดการรัฐประหารขับไล่นักการเมืองที่ไม่ดีออกไป
เปลี่ยนผู้บริหารเสียใหม่เพื่อให้บ้านเมืองพัฒนาต่อไปได้ สังคมจึงไม่ล่มสลายลงไป สังคมอาจเกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปแบบใหม่ที่คนในสังคมปรารถนา นี่คือตัวอย่างที่อธิบายแนวคิดของ อัลเฟรด
แร็ดคลิฟ-บราวน่ ได้
การกึกกาพฤติกรรมของคนในสังคมเชิงความสัมพันธ่ของหน้าที่ตามโครงสร้างของสังคมของ
อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ นี้ในทางวิชาการมานุกยวิทยาเรียกว่า ‚Holistics‛ ซึ่งเป็นการมองสังคม
ทีเดียวทุกโครงสร้างเพื่อความเข้าใจสังคมทั้งสังคม อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ เชื่อว่า การกึกกาเฉพาะ
โครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งเพียงโครงสร้างเดียวไม่สามารถจะเข้าใจโครงสร้างนั้นๆ ได้ เช่น ถ้าจะ
กึกกาโครสร้างทางการปกครองของสังคมไทยก็ต้องกึกการะบบค่านิยมเกรกฐกิจ กาสนา การกึกกา
ครอบครัว และเครือญาติของสังคมด้วย เพราะทุกๆ ระบบดังกล่าวมานั้นมีผลต่อโครงสร้างทางการ
17
ปกครองทั้งสิ้น(วรรณกิริ (ผลวัฒนะ)นิยพรรณ :2550)
ทฤกฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ(Culture and Personality)
แนวคิดเกี่ยวกับวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่คนสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเพื่อตอบสนองความต้องการ
พื้นฐานของตน ถ้าคนส่วนใหญ่คิดในสิ่งเดียวกันหรือยอมรับพฤติกรรมแบบเดียวกันไปประพฤติปฏิบัติ
พฤติกรรมนั้นก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมของสังคมไป ใครสังกัดสังคมใดก็จะประพฤติตามแบบอย่างที่
สังคมนั้นกําหนดไว้ และจะเป็นแบบเดียวกันหมด สังคมนั้นก็จะมีวัฒนธรรมเป็นแบบแผนเดียวกัน ใคร
เกิดมาในสังคมนั้นก็จะได้รับการปลูกฝังสั่งสอนในวัฒนธรรมนั้นๆ เหมือนกับว่าถูกชุบตัวในแอ่ง
วัฒนธรรมนั่นเอง
องค่ประกอบของวัฒนธรรมแบ่งออกได้เป็นสองด้าน ด้นหนึ่งเป็นนามธรรมที่ผลักดันพฤติกรรม
ของบุคคล ได้แก่ บุคลิกภาพของบุคคล ซึ่งประกอบด้วย ค่านิยม ทักนคติ ความคิดเห็น ความเชื่อ โลก
ทักน่ อุดมการณ่ และอุดมคติ ภาพพจน่ องค่ประกอบดังกล่าวนี้เป็นตัวผลักดันพฤติกรรมให้บุคคลมีการ
งต่อสถานการณ่ที่บุคคลเผชิญอยู่ เช่น เมื่อเกิดไฟไหม้บุคคลกระทําหรือการแสดงออกอย่างใดอย่างหนึ่
จะแสดงออกอย่างไร จะตัดสินใจทําอะไรก่อนหลังและทําอย่างไร เป็นต้น อาการที่บุคคลแสดงออกมา
เรียกว่า ลักกณะนิสัย ซึ่งคนทั่วๆ ไปเหมาเอาว่าเป็นบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพของบุคคลจะเป็นเช่นไรขึ้นอยู่กับการได้รับการปลูกฝังอบรมมาแต่เยาว่วัยอย่างไร
(Mead :1927) ผู้ที่ได้รับการอบรมสั่งสอนมาดีก็จะมีบุคลิกภาพดี ใครไม่ได้รับการอบรมเลยก็อาจจะ
อบรมตัวเองให้สอดคล้องกับสิ่งที่คนอื่นๆ ในสังคมคาดหวังได้ แต่อาจจะมีบุคลิกภาพไม่ดีนักก็ได้
ขึ้นอยู่กับปัจจัยพื้นฐานในตัวของบุคคลผู้นั้นด้วย เช่น เป็นคนมีสติปัญญาดีหรือไม่ดีระดับใด เป็นต้น
บุคคลที่ได้รับการปลูกฝังอบรมสั่งสอนมาดี หมายถึงการที่มีผู้ใหญ่ที่เกิดก่อน รู้กฎเกณฑ่ของ
วัฒนธรรมสังคมมาดีแล้วสั่งสอนอบรมให้ผู้นั้นแสดงออกในกรอบของกฎเกณฑ่ที่วัฒนธรรมกําหนดไว้
นั่นก็คือการได้ชุบตัวจาก ‚แอ่งวัฒนธรรม‛ ของสังคมที่บุคคลผู้นั้นเกิดมาและเติบโตขึ้นมา บุคลิกภาพ
ของบุคคลจะเป็นอย่างไรก็ขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ ดังนั้น วัฒนธรรมที่มีองค่ประกอบเป็น
ระเบียบประเพณี กฎเกณฑ่ ค่านิยม ความเชื่อ โลกทักน่ อุดมการณ่ ฯลฯ ก็จะเป็นตัวสร้างบุคลิกภาพของ
คนในสังคมหนึ่งๆ นั่นเอง
บุคคลที่ได้รับการปลูกฝังบุคลิกภาพในแอ่งวัฒนธรรมหนึ่งๆ เมื่อเติบโตขึ้นเป็นผู้ใหญ่ก็จะ
แสดงออกซึ่งบุคลิกภาพตามวัฒนธรรมของสังคมนั้นๆ มองโดยภาพรวมจากคนส่วนมากก็จะสมารถ
18
เห็นบุคลิกภาพเป็นรูปแบบของสังคมนั้นได้ชัดเจน เรียกวัฒนธรรมรวมของสังคมว่า ‚วัฒนธรรมประจํา
ชาติ‛ หรือ ‚แบบฉบับของวัฒนธรรม‛ และ ‚วัฒนธรรมรูปแบบ‛ เมื่อบุคคลเหล่านั้นไปแต่งงานมีลูกมี
หลานก็จะกลายเป็นหน่วยถ่ายทอด อบรม ปลูกฝัง สั่งสอนบุคลิกภาพตามวัฒนธรรมของตนให้แก่
สมาชิกผู้เยาว่ของสังคมอีก เป็นวัฏจักรวงจรของวัฒนธรรมและบุคลิกภาพไม่รู้จบ
จึงสรุปได้ว่า แอ่งวัฒนธรรมสร้างบุคลิกภาพของบุคคล ในขณะเดียวกันบุคลิกภาพของบุคคลก็จะ
ไปสร้างวัฒนธรรมอีกต่อหนึ่งหมุนเวียนกันไป นี่คือความสัมพันธ่ระหว่างวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
ทั้ง Ruth Benedict และ Margaret Mead ได้ให้ความสนใจการกึกกาวัฒนธรรมของสังคม Benedict
ให้ความสนใจในวัฒนธรรมส่วนบุคคลในสมัยเดียวกัน การกึกกาด้านนี้ต่อมาจึงเป็นแขนงวิชาใหม่
เกิดขึ้น เรียกว่า ‚วัฒนธรรมและบุคลิกภาพ‛ หรือ ‚จิตวิทยามนุกย่‛ ส่วนการวิเคราะห่พฤติกรรมของคน
ก็คงใช้ทฤกฎีจิตวิทยาของ Freud เป็นพื้นฐาน Meadได้สรุปว่า บุคคลจะมีบุคลิกภาพเช่นไรขึ้นอยู่กับ
การเลี้ยงดูและอบรมในวัยเด็ก และถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาในในแนวเดียวกันหมดก็จะมี
บุคลิกภาพเหมือนๆ กัน ดังจะเห็นตัวอย่างได้ชัดเจนจากการอบรมเลี้ยงดูเด็กของคนญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่น
ค่อนข้างเข้มงวดมากในการบังคับเด็กเล็ก โดยเฉพาะในเรื่องของการขับถ่ายงโตขึ้นมาเป็นเด็กญี่ปุ่นจึ
ผู้ใหญ่ที่มีระเบียบวินัยทั่วกันBenedict 1946 และ Benedict 1964 (G. Gorer และ J. Rickman )1950ได้
เล่าถึงการเลี้ยงดูเด็กอ่อนด้วยการเอาผ้าห่มมัดตัวเด็กอ่อนของคนรัสเซีย เป็นการบังคับความอิสระของ
เด็กทําให้เด็กไม่สามารถดิ้นได้โดยธรรมชาติ และเกิดอารมณ่โกรธ โมโห เมื่อโตขึ้นจะเป็นผู้ใหญ่ที่มี
อารมณ่เกรี้ยวกราด และคับข้องใจ บูดบึ้งตลอดเวลา นี่คือนิสัยทั่วๆ ไปของคนรัสเซีย จากตัวอย่างทั้ง
สองนี้จะเห็นได้ว่าการกึกกาทางด้านวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ เป็นเรื่องเกี่ยวเนื่องกับรูปแบบของ
วัฒนธรรมและวัฒนธรรมประจําชาติ
Ruth Benedict กึกกาสังคมอินเดียนแดงเผ่า Hopi, Zuni และ Navajo ซึ่งอยู่ในวัฒนธรรม Pueblo
ทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา Benedict พบว่าคนอินเดียนแดงทั้ง 3 เผ่านี้มีบุคลิกภาพแบบ
‚Apollonian‛ คนที่มีบุคลิกภาพแบบ Apollonian จะแสดงออกในทางที่นุ่มนวลอ่อนโยน ไม่ชอบความ
รุนแรง ปกปิด ซ่อนเร้นอารมณ่ กระดากอาย ขี้สงสัย หวาดระแวง ชอบสบาย ชอบความอุดมสมบูรณ่
เชื่อถือไสยกาสตร่ เน้นการรักกาโรคแบบไสยกาสตร่ เชื่อหมอดู รังเกียจการกินเหล้าและยาเสพติดให้
โทก เพราเห็นว่าทําให้ขาดสติและสิ้นเปลือง เป็นพวกมีนิสัยเก็บกด เวลาแสดงออกจะแสดงออกในทาง
หลบเลี่ยง เช่น แสดงออกในนิยายปรัมปรา เป็นต้น บุคลิกภาพแบบ Apollonian โดยทั่วไปถูกประเมิน
ว่าเป็นนิสัยเชิงบวกและนิสัยไม่รุนแรง
John Bennett ได้จัดแนวคิดแบบ Apollonian ให้เป็นแนวคิดของสํานัก ‚Repressive School‛
19
ต่อมา Benedict ได้กึกกาสังคม Kwakiutl ทางตะวันตกเฉียงเหนือของสหรัฐอเมริกา โดยได้กึกกา
เผ่า Labrador และอเมริกันอินเดียนใน Mexico พบว่าคนในสังคมดังกล่าวมีบุคลิกภาพแข็งหรือแนวลบ
Benedict เรียกพฤติกรรมแบบนี้ว่า ‚Dionysian‛ พฤติกรรมแบบ Dionysian เป็นพฤติกรรมที่ค่อนข้าง
รุนแรง ก้าวร้าว ไม่ชอบเก็บความรู้สึก รักกักดิ์กรี กลัวการเสียหน้า อิงขนบธรรมเนียมประเพณี ชอบการ
แข่งขัน โอ้อวด ชอบการทําลายล้างด้วยกําลัง อาฆาตมาดร้าย หลงตัวเอง เห็นการฆ่าแกงเป็นเรื่องปกติ
พวกนี้จะมีนิสัยชอบการต่อสู้ มักต่อสู้กันเอง และทําลายสิง่ ของ ทรมานตัวเอง แสดงอํานาจ พวก
Labrador และ Kwakiutl ทางฝั่งตะวันตกของสหรัฐอเมริกาชอบแสดงออก ไม่เก็บกด ติดเหล้า ชอบชก
ต่อย และโอ้อวด ฐานะร่ํารวย จะเห็นได้ว่า Kwakiutl Indian มีประเพณีในการบริโภคที่ไม่มีเหตุผล ชอบ
เอาหน้า ตําน้ําพริกละลายแม่น้ํา เช่นการบริโภคทรัพย่สินแบบ ‚Potlatch‛ ซึ่งเป็นการสะสมทรัพย่สินไว้
มากๆ และจัดงานเลี้ยงเพื่อโชว่การเผาทําลายทรัพย่สินอวดแขกที่เชิญมาจํานวนมากมายแขกที่มีฐานะดี
ก็จะรู้สึกว่าถูกลบหลู่จึงจัด Potlatch แก้แค้นโดยแสดงการเผาทรัพย่สินในปริมาณที่มากกว่าในโอกาส
ต่อมา เป็นต้น
บุคลิกภาพแบบ Apollonian ซึ่งเป็นบุคลิกภาพที่อ่อน ตรงกันข้ามกับบุคลิกภาพแบบ Dionysian ซึ่ง
เป็นบุคลิกภาพที่แข็ง ทั้งสองแบบเป็นรูปแบบของบุคลิกภาพที่ Benedict ค้นพบ และได้สรุปแนวคิดไว้
ว่า บุคลิกภาพของคนในสังคมมีสองรูปแบบนี้อย่างใดอย่างหนึ่ง แต่ Victor Barnouwวิจารณ่ว่าไม่มี
พเป็นขั้วใดขั้วหนึ่งเพียงอย่างเดียว กล่าวคือ บางสังคมมีสังคมใดที่จะมีวัฒนธรรมและบุคลิกภา
บุคลิกภาพอ่อนแบบApollonian และบางสังคมมีบุคลิกภาพแข็งแบบ Dionysian ทุกสังคมจะต้องมีทั้ง
สองลักกณะเสริมกัน ข้อสรุปของ Benedict ค่อนข้างคลุมเครือและกร้าวเกินไป มองสังคมในเชิง
ภาพรวมแบบ Configuration เกินไป ใช้ความรู้สึกส่วนตัวมาตัดสินวัฒนธรรมผู้อื่น และกึกกา
เปรียบเทียบวัฒนธรรมของผู้อื่นแบบหละหลวมไม่แน่นอน นี่คือจุดอ่อนของทฤกฎีรูปแบบวัฒนธรรม
และบุคลิกภาพของ Ruth Benedict
ส่วน Margaret Mead นั้นยึดติดอยู่กับการอบรมปลูกฝังบุคลิกภาพของคนในสังคมในแอ่ง
วัฒนธรรม ในผลงานเรื่อง Growing Up in New Guinea ของเขาได้แสดงให้เห็นถึงบุคลิกภาพของวัยรุ่น
ว่า ไมได้เกิดจากปัจจัยทางชีวภาพผลักดันพฤติกรรม ดังเช่นที่Freud เชื่อบุคลิกภาพของวัยรุ่นทั่วโลก
จึงไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับค่านิยมของแต่ละสังคมจะเป็นตัวปลุกฝังบุคลิกภาพของวัยรุ่น ใน
หนังสือของMead เรื่อง Sex and Temperament in Three Primitive Societiesได้แสดงจุดยืนในแนวคิด
ของ Mead เชื่อว่าบทบาทของชายและหญิงมิได้ขึ้นอยู่กับการที่คนเกิดมามีอวัยวะเพก ต่อมฮอร่โมน
และลักกณะทางร่างกายอื่นๆ เป็นชายหรือเป็นหญิง บทบาทเป็นชายหรือหญิงขึ้นอยู่กับการอบรมเลี้ยงดู
20
มาแต่เยาว่วัยเท่านั้น
Ruth Benedict และ Margaret Mead ต่างกันตรงที่ Benedict สนใจวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
ส่วนรวมหรือวัฒนธรรมประจําสังคม และบุคลิกภาพของบุคคลตอนโตเป็นใหญ่ ส่วนMead สนใจ
วัฒนธรรมหรือพฤติกรรมส่วนบุคคล การฝึกฝนคน การอบรมเลี้ยงดูคนในสังคมในช่วงเยาว่วัย ซึ่งจะ
ส่งผลให้เกิดวัฒนธรรมของสังคมในที่สุด (วรรณกิริ (ผลวัฒนะ) นิยพรรณ :2550 )
2.5 โครงสร้างสังคมญีป่ ุ่น
ในญี่ปุ่นนั้นไม่ว่าจะเป็นสังคมหรือวัฒนธรรมต่างก็สามารถจัดรูปแบบโดยการแยกออกจากกันได้
เป็นสองส่วน เรียกว่า ซาซาละ(ササラ)และทาโกะสึโบะ (タコツボ)
ซาซาละเป็นรูปแบบที่ใช้อธิบายลักกณะของวัฒนธรรม หากแปลตามตัวอักกรหรือคําจะได้
หรือจินตนาการได้ว่าไม้ไผ่นั้นคือมือเราที่ส่วนปลายจะ ความหมายว่าปลายไม้ไผ่ที่แตกออกเป็นซี่เล็กๆ
แยกออกเป็นส่วนๆ ซึ่งก็คือนิ้วมือ แต่ยังคงมีส่วนที่เป็นมือทําหน้าที่ยึดนิ้วไว้ด้วยกัน ส่วนคําว่าทา
โกะสึโบะนั้นหากแปลตรงตัวแล้วจะหมายถึงกับดักปลาหมึกซึ่งมีรูปทรงกระบอกยาวลงมาเป็นแนวตั้ง
ซึ่งสังคมญี่ปุ่นในปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นด้านวิชาการ วัฒนธรรม หรือด้านอื่นๆ ก็ล้วนแล้วแต่มีระบบ
โครงสร้างแบบทาโกะสึโบะทั้งสิ้น ซึ่งสังคมนี้เป็นสังคมของผู้ที่มีทักนคติที่แคบและไม่ค่อยมี
ปฏิสัมพันธ่ระหว่างบุคคล (มารุยามะ :2002)
ในที่นี้ ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนและง่ายต่อการทําความเข้าใจคือระบบธุรกิจแบบทาโกะสึโบะ
ในอดีต กลุ่มขนาดใหญ่ที่มีอํานาจนั้นได้แก่ กลุ่มไซบัตสึซึ่งเป็นสถาบันกลุ่มธุรกิจทางการเงินที่แบ่ง
ออกไปได้อีก 5 กลุ่ม โดยมีระบบการบริหารแบบกูนย่รวม คือ แต่ละกลุ่มจะมีเครือบริกัทซึ่งมีบริกัทที่
เป็นสาขาแม่ และสาขาย่อยแบ่งตัวออกไป กลุ่มบริกัทเหล่านี้ได้สร้างวิถีทางเกรกฐกิจแบบเฉพาะตัว
ขึ้นมาโดยการมีสายสัมพันธ่ในเชิงอํานาจกับรัฐบาลหรือนักการเมือง จนกลายเป็นสายสัมพันธ่แบบ
ลูกโซ่
ความสัมพันธ่ดังกล่าวจะเห็นได้จากตัวอย่างของร้านอาหารต่างๆ ที่มีกลยุทธ่ในการเอาใจลูกค้าโดย
การเตรียมเครื่องดื่มหรือเบียร่ไว้หลากหลายยี่ห้อเพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าได้ทุกกลุ่ม เช่น
ถ้าเป็นลูกค้าจากเครือบริกัทมิตซูบิชิทางร้านก็จะเสิร่ฟเบียร่ยี่ห้อคิริน แต่ถ้าเป็นลูกค้าที่มากจากกลุ่ม
บริกัทสุมิโตโมะทางร้านก็จะเตรียมเบียร่ของฮาซาฮีไว้เพื่อต้อนรับ
แนวโน้มความคิดเกี่ยวกับสังคมทาโกะสึโบะนี้ ถ้าเทียบกันแล้วกลุ่มคนที่อากัยอยู่ในแต่ละท้องถิ่น
21
หรือต่างภูมิภาคกับกลุ่มคนที่อยู่ในเมืองใหญ่ที่มีความสัมพันธ่เชิงธุรกิจอย่างที่ได้กล่าวไปเมื่อข้างต้นนี้
แล้ว ต่างก็มีจิตสํานึกเกี่ยวกับแนวคิดทาโกะสึโบะนี้เหมือนกัน แต่คนที่อากัยอยู่ตามท้องถิ่นอาจจะมี
จิตสํานึกในส่วนนี้น้อยกว่าเพราะส่วนใหญ่แล้วผู้คนจะมีความสัมพันธ่ที่ใกล้ชิดกับการเมืองท้องถิ่น
และระบบปกครองตนเองมากกว่า
ในสังคมญี่ปุ่นนั้น สภาพสังคมที่มีการผูกขาดทางเกรกฐกิจโดยผู้ประกอบการนั้น เป็นสังคมแบบทา
โกะสึโบะหลายๆ อัน ซึ่งแต่ละอันก็เปรียบเสมือนแต่ละเครือบริกัท เมื่อเกิดการผูกขาดตลาดโดยหลายๆ
บริกัท รูปแบบสังคมทาโกะสึโบะนี้ก็ก่อตัวขึ้นจนกลายเป็นกับดักปลาหมึกหรือทาโกะสึโบะขนาดใหญ่
แต่ละทาโกะสึโบะมีสภาพเป็นสังคมปิดไม่ยุ่งเกี่ยวกับคนภายนอก ซึ่งโครงสร้างภายในกลุ่มหรือใน
องค่กรนั้นคนที่อยู่ในตําแหน่งที่สูงกว่าหรือในระดับสูงจะทําหน้าที่เป็นผู้ปกครองคนที่อยู่ในระดับต่ํา
กว่า บรรดานักกึกกาจบใหม่ที่เข้ามาทํางานในบริกัท เมื่อเข้าในประจํายังตําแหน่งใดตําแหน่งหนึ่งแล้ว
จะไม่สามารถย้ายไปอยู่ในที่ที่มีระดับต่างจากปัจจุบันของตนเองได้ ต้องอยู่ประจําตําแหน่งหรือระดับ
เดิมเหมือนตอนที่เข้ามาทํางานใหม่ๆ ยิ่งการเลื่อนขั้นจากระดับล่างขึ้นไประดับสูงนั้น แทบจะกล่าวได้
ว่าไม่มีโอกาสเป็นไปได้เลย
จุดสูงสุดในระบบสังคมชนชั้นคือบริกัทใหญ่ในเครือที่ทําหน้าที่เป็นผู้ดูแลหรือบริกัทแม่ที่เป็นผู้ถือ
หุ้นรายใหญ่อยู่ ทั้งนี้บริกัทแม่ซึ่งเป็นเสาหลักใหญ่ไม่ได้ทําหน้าที่บริหารงานเพียงลําพัง แต่จะมีการส่ง
มอบงานกระจายไปตามสาขาย่อยแต่ละแห่งซึ่งก็คือบริกัทลูกให้รับผิดชอบงานในบางส่วน หรือบาง
กรณีอาจมอบหมายให้สาขาย่อยเป็นผู้รับผิดชอบงานทั้งหมด ซึ่งบริกัทลูกที่รับงานไปก็จะมอบหมาย
งานไปให้บริกัทภายในเครืออีกต่อหนึ่ง แต่ในที่นี้ปัญหาคือเนื่องจากบริกัทสาขาใหญ่กับบริกัทลูกเป็นผู้
ที่ถืออํานาจและอยู่ในสถานะที่สูงว่า สาขาย่อยจึงเหมือนถูกกดสถานะไว้ไม่ให้สามารถ (ลําดับที่สาม)
อย่างอิสระ และสาขาย่อยแต่ละแห่งนั้นไม่สามารถรับผลิตสินค้าหรือดําเนินการต่างๆ ทําการต่างๆ ได้
ให้กับบริกัทที่อยู่นอกเครือข่ายได้เพราะจะถือว่าเป็นการผิดต่อบริกัทต้นสังกัดของตนทันที
22
สภาพที่ไร้ซึ่งความเป็นอิสระแห่งปัจเจกชนและสภาพคล่องตัว
ในกลุ่มสังคมชนชั้นนี้เป็นที่ที่ไร้ซึ่งความเป็นปัจเจกชนและอิสรเสรีในการเคลื่อนย้าย กล่าวคือไม่
สามารถย้ายตัวเองจากทาโกะสึโบะหรือบริกัทที่ตนเองสังกัดอยู่ไปยังทา (รูปแบบสังคมแนวตั้ง)
อมไม่มีทางเกิดขึ้นได้ โกะสึโบะอื่นได้ อีกทั้งการย้ายลงไปยังตําแหน่งที่ต่ํากว่าปัจจุบันก็เป็นสิ่งที่ย่
เพราะทุกคนล้วนเข้าใจตรงกันดีว่าหากลดตัวลงไปครั้งหนึ่งแล้วโอกาสที่จะสามารถย้อนกลับขึ้นมายัง
ตําแหน่งหรือสถานะเดิมก่อนหน้านั้นแทบไม่มีเลย ดังนั้นทุกคนจึงพยายามรักกาสถานะปัจจุบันของ
ตนเองไว้อย่างดีที่สุด แล้วในการทํางานนั้น กลุ่มที่ทํางานดีแต่ไม่ได้รับการประเมินผลงานก็จะความ
วุ่นวายภายในกลุ่มเกิดขึ้น โดยทุกคนจะโยนความรับผิดชอบในแต่ละงานให้คนอื่นภายในกลุ่มไปมา
ส่วนคนที่อยากจะสร้างผลงานก็จะพยายามรอจังหวะเพื่อแย่งผลงานของคนอื่นมาเป็นของตัวเอง
23
บทที่ 3 เนื้อหาประกอบ
3.1 เหตุการณ์แผ่นดินไหวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่น โทโโคุ(ปีค.ศ. 2011
แผ่นดินไหวนอกชายฝั่งแปซิฟิกโทโฮคุ ค .ก.2011 หรือ พ .ก.2554 เป็นแผ่นดินไหวเม
กะทรัสต่3เกิดใต้ทะเล ขนาด 9.0 แมกนิจูด นอกชายฝั่งญี่ปุ่น โดยเกิดขึ้นเมื่อเวลา 14.46 น.ตามเวลา
ท้องถิ่นในประเทกญี่ปุ่น ของวันที่ 11 มีนาคม พ .ก.2554 มีจุดเหนือกูนย่กลางแผ่นดินไหวอยู่นอก
ชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรโอชิกะ โทโฮคุ โดยมีจุดเกิดแผ่นดินไหวอยู่ลึกลงไปใต้พื้นดิน 32
กิโลเมตร นับเป็นเหตุการณ่แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติกาสตร่ญี่ปุ่น และเป็นหนึ่งในห้า
แผ่นดินไหวครั้งรุนแรงที่สุดของโลกเท่าที่มีการบันทึกสมัยใหม่มาตั้งแต่ พ.ก .2443 และก่อให้เกิดสึนา
มิหรือคลื่นยักก่ทําลายล้างซึ่งสูงที่สุดถึง 40.5 เมตร ในมิยาโกะ อิวาเตะ และโทโฮคุ บางพื้นที่พบว่า
คลื่นได้พัดพาลึกเข้าไปในแผ่นดินลึกถึง 14 กิโลเมตร และมีคลื่นที่เล็กกว่าพัดไปยังอีกหลายประเทก
หลายชั่วโมงหลังจากนั้น โดยมีการประกากเตือนภัยสึนามิและคําสั่งอพยพตามชายฝั่งด้านแปซิฟิกของ
ญี่ปุ่นและอีกอย่างน้อย 20 ประเทก รวมทั้งชายฝั่งแปซิฟิกทั้งหมดของประเทกอเมริกาเหนือและอเมริกา
ใต้ ซึ่งนอกเหนือไปจากการสูญเสียชีวิตและการทําลายล้างโครงสร้างพื้นฐานของญี่ปุ่นแล้ว คลื่นสึนามิ
ดังกล่าวยังก่อให้เกิดความเสียดายต่อเตาปฏิกรณ่นิวเคลียร่ขึ้น ทําให้แกนปฏิกรณ่ปรมาณูหลอมละลาย
ระดับ 7 ในโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิมาไดอิจิ และการกําหนดพื้นที่อพยพได้มีผลกระทบถึงประชาชน
จํานวนหลายแสนคน ความรุนแรงจากเหตุการณ่แผ่นดินไหวครั้งนี้ส่งผลให้เกาะฮอนชูเลื่อนไปทาง
ตะวันออก 2.4 เมตร พร้อมกับเคลื่อนแกนหมุนของโลกไปเกือบ 10 เซนติเมตร
นายกรัฐมนตรีนาโอโตะ คัง กล่าวว่า ในช่วงเวลา"65 ปีนับตั้งแต่สิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่
2 วิกฤตการณ่ครั้งนี้นับว่าร้ายแรงและยากลําบากที่สุดสําหรับญี่ปุ่น" สํานักงานตํารวจแห่งชาติญี่ปุ่น
ระบุว่า มีผู้เสียชีวิต 15,729 ราย บาดเจ็บ 5,719 ราย และสูญหายอีกจํานวน 4,539 ราย ในพื้นที่ 18
จังหวัด เช่นเดียวกับอาคารบ้านเรือนที่ถูกทําลายหรือได้รับความเสียหายกว่า 125,000 หลัง แผ่นดินไหว
ครั้งนี้สร้างความเสียหายอย่างใหญ่หลวงต่อประเทกญี่ปุ่น รวมทั้งความเสียหายอย่างหนักต่อถนนและ
รางรถไฟ เช่นเดียวกับเหตุเพลิงไหม้ในหลายพื้นที่ และเขื่อนแตก บ้านเรือนจํานวนประมาณ 4.4 ล้าน
หลังคาเรือนทางตะวันออกเฉียงเหนือของญี่ปุ่นไม่มีกระแสไฟฟ้าใช้ และประชาชนอีกจํานวน 1.5 ล้าน
คนไม่มีน้ําใช้ เครื่องกําเนิดไฟฟ้าหลายเครื่องไม่สามารถใช้การได้ และเครื่องปฏิกรณ่นิวเคลียร่อย่าง
3
แผ่นดินไหวเมกะทรัสต์ (Mega thrust Earthquake) เป็นแผ่นดินไหวขนาดใหญ่ที่สุด โดยมีโมเมนต่แมกนิจูด (Mw) เกินกว่า 9.0
24
น้อยสามเครื่องได้รับความเสียหาย เนื่องจากแก๊สไฮโดรเจนที่เกิดขึ้นในอาคารคลุมเครื่องปฏิกรณ่
ชั้นนอก และยังได้มีการประกากสถานการณ่ฉุกเฉิน โรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิมาไดอิจิที่เกิดระเบิดขึ้น
เกือบ 24 ชั่วโมงหลังเหตุแผ่นดินไหวครั้งแรก อย่างไรก็ตาม ประชาชนซึ่งอยู่อากัยในรักมี 20 กิโลเมตร
รอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิมาไดอิจิและรักมี 10 กิโลเมตรรอบโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิมาไดนิได้ถูก
สั่งอพยพให้ออกจากพื้นที่
ประมาณการความเสียหายเบื้องต้นเฉพาะที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหวอย่างเดียว มีมูลค่าอยู่
ระหว่าง 14,500 ถึง 34,600 ล้านดอลลาร่สหรัฐ โดยธนาคารกลางญี่ปุ่นได้อัดฉีดเงินเข้าสู่ระบบอย่าง
น้อย 15 ล้านล้านเยน เมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ .ก.2554 เพื่อพยายามฟื้นฟูสภาพการตลาดให้กลับคืนสู่
สภาพปกติ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม ธนาคารโลกประมาณการความเสียหายระหว่าง 122,000 ถึง 235,000
ล้านดอลลาร่สหรัฐ รัฐบาลญี่ปุ่นประกากว่ามูลค่าความเสียหายจากภัยพิบัติแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ
อาจมีมูลค่าสูงถึง 309,000 ล้านดอลลาร่สหรัฐ ซึ่งทําให้เหตุการณ่แผ่นดินไหวในครั้งนี้เป็นภัยธรรมชาติ
ที่สร้างความเสียหายมากที่สุดเท่าที่มีการบันทึกมา
3.1.1 แผ่นดินไหว
รูปที่ 1 แสดงพื้นที่ประสบภัยพิบัติแผ่นดินไหว 11 มีนาคม ค .ก.2011
ที่มา http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล่:Shindomap_2011-03-11_Tohoku_earthquake.png
แผ่นดินไหวดังกล่าวเกิดขึ้นในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกที่ระดับความลึกเพียง 32 กิโลเมตร
โดยกูนย่กลางแผ่นดินใหญ่อยู่ห่างจากคาบสมุทรโอชิกะ โทโฮคุ ประมาณ 72 กิโลเมตร เมืองใหญ่ที่ใกล้
25
จุดกูนย่กลางแผ่นดินไหวมากที่สุดคือ เซ็นได บนเกาะฮอนชู เกาะหลักของญี่ปุ่น ซึ่งอยู่ห่างจาก
กูนย่กลางแผ่นดินไหว 130 กิโลเมตร ในขณะที่โตเกียวอยู่ห่างจากกูนย่กลางแผ่นดินไหว 373
กิโลเมตร แผ่นดินไหวดังกล่าวเกิดขึ้นหลังจากที่มีแผ่นดินไหวนําอย่างรุนแรง และมีรายงาน
แผ่นดินไหวตามอีกหลายครั้ง แผ่นดินไหวนํา (Foreshockใหญ่ครั้งแรกเป็นเหตุแผ่นดินไหวนํา (มีระดับ
ความรุนแรง 7.2 แมกนิจูด เมื่อวันที่ 9 มีนาคม ห่างจากจุดที่เกิดแผ่นดินไหวเมื่อวันที่ 11 มีนาคมไปอย่าง
น้อย 40 กิโลเมตร ตามด้วยแผ่นดินไหวนําอีกสามครั้งที่เกิดขึ้นในวันเดียวกัน ซึ่งล้วนแต่มีความรุนแรง
มากกว่า 6 แมกนิจูด หลังเกิดแผ่นดินไหว ยังมีแผ่นดินไหวตามเกิดขึ้นอีกหลายครั้ง
เบื้องต้นสํานักงานธรณีวิทยาของสหรัฐ (The United State Geological Survey: USGS) รายงาน
ว่าความรุนแรงของแผ่นดินไหวอยู่ที่ 7.9 แมกนิจูด แต่ปรับเพิ่มเป็น 8.8 และ 8.9 อย่างรวดเร็ว และปรับ
เพิ่มอีกครั้งเป็น 9.0 แมกนิจูด
3.1.2 คลื่นสึนามิ
แผ่นดินไหวดังกล่าวซึ่งเกิดจากการนูนขึ้น 5 ถึง 8 เมตร บนก้นทะเลยาว 180 กิโลเมตร ห่างจาก
ชายฝั่งตะวันออกของโทโฮคุ 60 กิโลเมตร ทําให้เกิดคลื่นสึนามิขนาดใหญ่ซึ่งทําให้เกิดความเสียหาย
ตามแนวชายฝั่งแปซิฟิกของหมู่เกาะตอนเหนือของญี่ปุ่น รวมถึงเกิดความสูญเสียชีวิตผูค้ นหลายพันชีวิต
และหลายเมืองถูกทําลายลงอย่างสิ้นเชิง นอกจากนี้คลื่นสีนามิยังได้แพร่ขยายไปทั่วมหาสมุทรแปซิฟิก
และมีการออกคําเตือนพร้อมทั้งคําสั่งอพยพในหลายประเทกที่ติดมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งตลอด
ชายฝั่งแปซิฟิกของอเมริกาเหนือและใต้ ตั้งแต่อะลาสกาไปจนถึงชิลี อย่างไรก็ตาม แม้ว่าสึนามิจะ
เดินทางไปถึงหลายประเทก แต่ก็มีผลกระทบค่อนข้างน้อย ชายฝั่งชิลีส่วนที่ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่ง
อยู่ห่างจากญี่ปุ่นมากที่สุด ราว)17,000 กิโลเมตร) ก็ยังได้รับผลกระทบเป็นคลื่นสึนามิสูง 2 เมตรคลื่นสึ
นามิสูง 38.9 เมตรถูกประเมินที่คาบสมุทรโอโมเอะ เมืองมิยาโกะ จังหวัดอิวาเตะ
ประกากเตือนภัยสึนามิโดยสํานักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่นจัดให้คลื่นสึนามิดังกล่าวเป็น สึนามิ"
ซึ่งมีความสูงอย่างน้อย "ขนาดใหญ่3 เมตร การคาดการณ่ความสูงที่แท้จริงนั้นแตกต่างกันไป โดยมีการ
คาดการณ่สูงสุดในจังหวัดมิยางิที่ 6 เมตร คลื่นสึนามิพัดเข้าท่วมพื้นที่ประมาณ 561 ตารางกิโลเมตรใน
ญี่ปุ่น
แผ่นดินไหวเกิดขึ้นเมื่อเวลา 14.46 นนวชายฝั่งญี่ปุ่นที่ใกล้ตามเวลามาตรฐานญี่ปุ่น ห่างจากแ .
ที่สุดไปราว 67 กิโลเมตร และตอนแรกมีการประเมินว่าคลื่นสึนามิจะใช้เวลาเดินทางมายังพื้นที่แรกที่
ได้รับผลกระทบระหว่าง 10 ถึง 30 นาที ตามด้วยพื้นที่เหนือขึ้นไปและใต้ลงมาตามภูมิกาสตร่ของแนว
26
ชายฝั่ง หลังเกิดแผ่นดินไหวขึ้นหนึ่งชั่วโมงเล็กน้อย เมื่อเวลา 15.55 นตามเวล .ามาตรฐานญี่ปุ่น มีการ
รายงานว่าคลื่นสึนามิได้พัดเข้าท่วมท่าอากากยานเซนได ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ชายฝั่งจังหวัดมิยางิ โดยคลื่นได้
พัดพาเอารถยนต่และเครื่องบิน ตลอดจนท่วมอาคารเป็นจํานวนมากขณะที่คลื่นถาโถมเข้าไปใน
แผ่นดิน นอกจากนี้ ยังมีรายงานเพิ่มเติมว่าคลื่นสึนามิความสูง 4 เมตรเข้าถล่มจังหวัดอิวาเตะ เขตวาคา
บายาชิในเซ็นได ส่วผลให้เป็นพื้นที่ที่ได้รับผลกระทบค่อนข้างหนักเป็นพิเกก ส่วนที่พักพิงอพยพ
คลื่นสึนามิที่กําหนดไว้อย่างน้อย 101 แห่งก็ได้รับความเสียหายจากคลื่น เช่นเดียวกับเหตุการณ่
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในมหาสมุทรอินเดีย พ .ก.2547 และเหตุการณ่พายุไซโคลนนาร่กิส ความ
เสียหายจากคลื่นที่พัดเข้าถล่ม แม้ว่าจะกินพื้นที่จํากัดเฉพาะในท้องถิ่น แต่ก็ก่อให้เกิดความเสียหายแก่
ชีวิตและทรัพย่สินมากกว่าตัวแผ่นดินไหวเอง มีรายงานว่า เมืองทั้งเมืองถูกทําลายจากพื้นที่ที่ได้รับ
ผลกระทบจากคลื่นสึนามิในญี่ปุ่น รวมทั้งเมืองมินามิซานริกุ ซึ่งมีผู้สูญหายกว่า 9,500 คน ร่างของ
ผู้เสียชีวิตหนึ่งพันคนถูกเก็บกู้ในเมืองเมื่อวันที่ 14 มีนาคม พ .ก.2554 ซึ่งสาเหตุที่ทําให้ยอดผู้เสียชีวิต
จากคลื่นสึนามิสูงนั้น ข้อหนึ่งเป็นเพราะแรงกระแทกของน้ําขนาดใหญ่ และกําแพงสึนามิที่ตั้งอยู่ใน
เมืองหลายแห่งที่ได้รับผลกระทบนั้นโดยทั่วไปป้องกันได้เฉพาะคลื่นสึนามิที่ขนาดเล็กกว่านี้
พื้นที่ส่วนใหญ่ของเมืองคุจิและพื้นที่ส่วนใต้ของโอฟุนาโตะรวมทั้งบริเวณท่าเรือเกือบถูก
ทําลายอย่างสิ้นเชิง นอกจากนี้ เมืองที่เกือบถูกทําลายลงอย่างสิ้นเชิงคือ ริคุเซนตาคาตะ ซึ่งมีรายงานว่า
คลื่นสึนามิมีความสูงเท่ากับตึกสามชั้น เมืองอื่นที่ได้รับรายงานว่าถูกทําลายหรือได้รับความเสียหาย
อย่างหนักจากคลื่นสึนามิ ได้แก่ โอนากาวะ, นาโตริ, โอตสึชิ และยามาดะ (จังหวัดอิวาเตะ( นามิเอะ โซ
มะ และมินามิโซมะ (จังหวัดฟุกุชิมะและโอน (ากาวะ นาโตริ อิชิโนะมากิ และเคเซนนุมะ (จังหวัด
มิยางิ( ผลกระทบรุนแรงที่สุดจาดคลื่นสึนามิเกิดขึ้นตามแนวชายฝั่งยาว 670 กิโลเมตรตั้งแต่เอริมะทาง
เหนือไปจนถึงโออาราอิทางใต้ นอกจากนี้ คลื่นสึนามิยังได้ทําลายสะพานเพียงหนึ่งเดียวที่เชื่อมต่อกับ
มิยาโตจิมะ จังหวัดมิยางิ ทําให้ประชากร 900 คนบนเกาะขาดการติดต่อทางบกกับแผ่นดินใหญ่
27
3.1.3 ความเสียหายและผลกระทบ
ระดับและขอบเขตความเสียหายอันเกิดจาก
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดตามมานั้นใหญ่หลวง โดย
ความเสียหายส่วนใหญ่นั้นเป็นผลจากคลื่นสึนามิ คลิปวิดีโอ
ของเมืองที่ได้รับผลกระทบเลวร้ายที่สุดแสดงให้เห็นภาพของ
เมืองที่เหลือเพียงเกกซาก ซึ่งแทบจะไม่เหลือส่วนใดของเมือง
เลยที่ยังมีสิ่งปลูกสร้างเหลืออยู่ การประเมินขอบเขตมูลค่า
ความเสียหายอยู่ในระดับหลายหมื่นล้านดอลลาร่สหรัฐ
ภาพถ่ายดาวเทียมเปรียบเทียบก่อนและหลังในพื้นที่ที่ถูก
ทําลายล้างนั้นแสดงให้เห็นความเสียหายอย่างมโหฬารที่เกิด
ในหลายพื้นที่ แม้ญี่ปุ่นจะลงทุนเป็นมูลค่าหลายพันล้าน
ดอลลาร่สหรัฐไปกับกําแพงกั้นน้ําต่อต้านสึนามิ ซึ่งลากผ่าน
อย่างน้อย 40% ของแนวชายฝั่งทั้งหมด 34,751 กิโลเมตร
และมีความสูงถึง 12 เมตรก็ตาม แต่คลื่น สึนามิก็เพียงทะลัก
ข้ามยอดกําแพงกั้นน้ําบางส่วน
รูปที่ 3 ความเสียหายจากสึนามิระหว่างเซ็นได
กับอ่าวเซ็นได
สํานักงานตํารวจแห่งชาติของญี่ปุ่น แถลงเมื่อวันที่ 3
ที่มา : http://th.wikipedia.org/wiki/ไฟล่:
เมกายน พ .ก.2554 ว่า มีอาคาร 45,7000 หลังถูกทําลาย และ
2011_Earthquake_and_Tsunami_near_Sendai,_
อีก 144,300 หลังได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวและ
Japan.jpg
คลื่นสึนามิ อาคารที่ได้รับความเสียหายนั้น ประกอบด้วย
29,500 หลังในจังหวัดมิยะงิ 12,500 หลังในจังหวัดอิวะเตะ และ 2,400 หลังในจังหวัดฟุกุชิ
มะ โรงพยาบาลขนาดใหญ่กว่า 20 เตียง 300 แห่งในโทโฮะกุได้รับความเสียหายจากภัยพิบัติดังกล่าว
โดยมี 11 โรงถูกทําลายลงอย่างสิ้นเชิง แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิก่อให้เกิดกองวัสดุก่อสร้างและซาก
ปรักหักพังที่ประเมินไว้ 24-25 ล้านตันในญี่ปุ่น มีการประเมินว่ารถยนต่และรถบรรทุกกว่า 230,000
คน ได้รับความเสียหายหรือ ถูกทําลายไปในภัยพิบัติ จนถึงสิ้นเดือนพฤกภาคม พ .ก.2554 ชาว
จังหวัดอิวาเตะ มิยางิ และฟุกุชิมา ได้ร้องขอจดทะเบียนยานพาหนะออกจากระบบ )Deregistration) กว่า
15,000 คันหรือลํา หมายความว่า เจ้าของยานพาหนะเหล่านี้ทราบว่าซ่อมแซมไม่ได้ หรือเรือไม่อาจกู้ได้
28
3.1.4 ความสูญเสีย
ในจํานวนผู้เสียชีวิตจํานวน 13,135 รายที่ถูกเก็บกู้จนถึงวันที่ 11 เมกายน พ .ก.2554 กว่า
12,143 รายหรือกว่าร้อยละ 92.5 เสียชีวิตเพราะจมน้ํา ผู้เสียชีวิตอายุ 60 ปีหรือมากกว่า คิดเป็นร้อยละ
65.2 ของจํานวนผู้เสียชีวิตทั้งหมด และร้อยละ 24 ของผู้เสียชีวิตทั้งหมดอยู่ในช่วงวัยเจ็ดสิบปี จนถึง
วันที่ 10 เมกายน พ .ก.2554 กระทรวงสาธารณสุข แรงงานและสวัสดิการของญี่ปุ่น แถลงว่า
กระทรวงฯ ทราบว่ามีเด็กอย่างน้อย 82 คนกลายเป็นเด็กกําพร้าจากภัยพิบัติดังกล่าว แผ่นดินไหวและ
คลื่นสึนามินับจนถึงวันที่ 28 เมกายน พ .ก.2554 ได้คร่าชีวิตนักเรียนชั้นประถมกึกกา มัธยมกึกกา
ตอนต้นและตอนปลายไปทั้งสิ้น 378 คน และมีผู้สูญหายอีก 158 คน ด้านกระทรวงการต่างประเทก
ญี่ปุ่นรายงานว่า มีชาวต่างชาติเสียชีวิต 19 คน จนถึงวันที่ 27 พฤกภาคม พ .ก.2554 สมาชิกกองกําลัง
ป้องกันตนเองภาคพื้นดินญี่ปุ่นเสียชีวิตไปสามนาย ขณะปฏิบัติภารกิจบรรเทาสาธารณภัยในโทโฮคุ
เขื่อนแตกและน้า
เขื่อนชลประทานฟุจินุมะในสุคางาวะได้รับผลกระทบเสียหาย ทําให้เกิดอุทกภัยและน้ําได้พัด
พาบ้านเรือนไปกับกระแสน้ําจํานวนห้าหลัง มีผู้สูญหายแปดคน และกพผู้เสียชีวิตสี่รายถูกค้นพบในเช้า
วันรุ่งขึ้น ตามรายงาน ประชาชนท้องถิ่นบางคนพยายามซ่อมแซมรอยแตกของเขื่อนก่อนที่เขื่อนจะ
แตก เมื่อวันที่ 12 มีนาคม เขื่อน 252 แห่งถูกตรวจสอบ และพบว่าเขื่อนกั้นหกแห่งมีรอยแตกตื้น ๆ
บริเวณสันเขื่อน
ทันทีหลังเกิดหายนะดังกล่าวขึ้น มีอย่างน้อย 1.5 ล้านครัวเรือนได้รับรายงานว่าไม่สามารถ
เข้าถึงน้ําประปาได้จนถึงวันที่ 21 มีนาคม ยอดดังกล่าวลดลงเหลือ 1.04 ล้านครัวเรือน
3.1.5 ผลกระทบที่ตามมา
ผลที่ตามมาจากเหตุแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮคุ พ .ก.2554 ได้แก่วิกฤตการณ่ด้าน
มนุกยธรรมและผลกระทบต่อเกรกฐกิจขนาดใหญ่ คลื่นสึนามิส่งผลให้มีผู้อพยพมากถึง 300,000 คนใน
ภูมิภาคโทโฮคุ ตลอดจนการขาดแคลนอาหาร น้ํา ที่พักอากัย ยาและเชื้อเพลิงในผู้รอดชีวิต รัฐบาลญี่ปุ่น
ตอบสนองโดยการระดมกองกําลังป้องกันตนเองเข้าไปให้ความช่วยเหลือ ในขณะที่อีกหลายประเทกส่ง
ทีมค้นหาและหน่วยกู้ภัยเข้าไปช่วยค้นหาผู้รอดชีวิต นอกจากนี้องค่การช่วยเหลือทั้งในญี่ปุ่นและทั่ว
โลกยังได้ให้ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง โดยกาชาดญี่ปุ่นรายงานว่าได้รับเงินบริจาคกว่า 1 พันล้านเยน
29
ในด้านผลกระทบทางเกรกฐกิจมีทั้งปัญหาเฉียบพลัน คือการผลิตทางอุตสาหกรรมต้อง
หยุดชะงักไปในหลายโรงงาน และปัญหาในระยะยาวคือการฟื้นฟูบูรณะ ซึ่งมีการประเมินไว้ที่ 10 ล้าน
ล้านเยน ผลกระทบร้ายแรงอีกประการหนึ่งของสึนามิในครั้งนี้คือความเสียหายหนักที่เกิดกับโรงไฟฟ้า
นิวเคลียร่ฟุกุชิมะไดอิจิ ซึ่งส่งผลให้เกิดการรั่วไหลของกัมมันตรังสีและโอกาสเกิดอันตรายต่อสุขภาพ
และสิ่งแวดล้อมในระยะยาว
วิกฤติการณ์มนุษยธรรม
แผ่นดินไหวทําให้คนจํานวนมากต้องย้ายออกจากถิ่นฐาน จํานวนผู้อพยพครั้งหนึ่งเคยสูงเกิน
300,000 คน ผู้รอดชีวิตจากเหตุแผ่นดินไหวบางส่วนเสียชีวิตในกูนย่อพยพหรือในระหว่างขั้นตอนการ
อพยพ กูนย่อพยพจํานวนมากพยายามอย่างยิ่งในการจัดหาอาหารให้แก่ผู้อพยพ อีกทั้งยังมีปัญหาใน
เรื่องของความขาดแคลนอุปกรณ่ทางการแพทย่
การขาดแคลนเชื้อเพลิงทําให้ปฏิบัติการบรรเทาสาธารณภัยล่าช้า ในสัปดาห่แรกหลัง
แผ่นดินไหว เสบียงอาหาร น้ําและยาต้องรอออกไปเพราะการขาดแคลนเชื้อเพลิงและสภาพ
อากาก อาหารจํากัดสําหรับประชาชนที่ไม่อพยพ และจนถึงปลายเดือนมีนาคม ผู้อพยพบางคนได้รับ
อาหารเพียงหนึ่งมื้อต่อวัน
มีความต้องการที่พักอากัยชั่วคราว ขณะที่รัฐบาลญี่ปุ่นพยายามนําตัวผู้อพยพบางส่วนออกจาก
กูนย่อพยพขนาดใหญ่ ซึ่งมีรายงานว่าสภาพสุขอนามัยไม่ดี จนถึงปลายเดือนมีนาคม มีแผนสร้างหน่วย
ชั่วคราว 8,800 หน่วยในอิวาเตะ, 10,000 หน่วยในมิยะงิ และ 19,000 หน่วยในฟุกุชิมะ
จนถึงปลายเดือนกรกฎาคม พ .ก.2554 จํานวนผู้อพยพในญี่ปุ่นอยู่ที่ 87,063 คน ในจํานวนนี้
12,905 คนอากัยอยู่ในกูนย่อพยพสาธารณะ และอีก 19,918 คนอากัยอยู่ในโรงแรม หน่วยที่พักอากัย
ชั่วคราว 46,081 หน่วย คิดเป็นร้อยละ 88 โดยมีผู้อพยพย้ายเข้าไปอยู่ในที่พักอากัยชั่วคราวคิดเป็น
จํานวนร้อยละ 73
ปัญหาด้านนิวเคลียร์
หลังเกิดแผ่นดินไหว คลื่นสึนามิและการล้มเหลวของระบบหล่อเย็นที่โรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิ
มะไดอิจิ รวมถึงปัญหาซึ่งเกิดขึ้นกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร่แห่งอื่นในญี่ปุ่นเมื่อวันที่ 11 มีนาคม พ .ก.2554
มีการประกากภาวะฉุกเฉินนิวเคลียร่ ซึ่งเป็นครั้งแรกที่มีการประกากภาวะฉุกเฉินนิวเคลียร่ในญี่ปุ่น และ
ชาวเมืองจํานวน 140,000 คนที่อากัยอยู่โดยรอบรักมี 20 กิโลเมตรจากโรงไฟฟ้าถูกอพยพ เหตุระเบิด
30
และเพลิงไหม้ส่งผลให้เกิดการแพร่กระจายของกัมมันตรังสีในระดับที่เป็นอันตราย ทําให้ตลาด
หลักทรัพย่ปิดตัวลดลงอย่างรุนแรงและประชาชนเองก็พากันตื่นตัวรีบซื้อของเก็บตุนไว้ สหราช
อาณาจักร ฝรั่งเกสและประเทกอื่นอีกบางประเทกแนะนําให้ประชาชนของตนพิจารณาออกจาก
กรุงโตเกียว จากความกลัวว่าจะมีการปนเปื้อนของสารกัมมันตรังสีที่ขยายลุกลามออกไป เหตุการณ่
ดังกล่าวทําให้ความสนใจมุ่งไปยังปัญหามาตรฐานการออกแบบโครงสร้างแผ่นดินไหวนิวเคลียร่ของ
ญี่ปุ่น และส่งผลให้รัฐบาลประเทกอื่นประเมินโครงการนิวเคลียร่ของตนเช่นกัน จนถึงเดือนเมกายน
พ .ก.2554 น้ํายังคงถูกเทเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ่ที่ได้รับความเสียหายเพื่อหล่อเย็นแท่งเชื้อเพลิงที่กําลัง
หลอมละลาย จอห่น ไพรซ่ อดีตสมาชิกฝ่ายนโยบายด้านความปลอดภัยที่บริกัทนิวเคลียร่แห่งชาติของส
หราชอาณาจักร กล่าวว่า อาจใช้เวลา"100 ปี ก่อนที่แท่งเชื้อเพลิงที่กําลังหลอมละลายนั้นจะสามารถถูก
นําออกจากโรงไฟฟ้านิวเคลียร่ฟุกุชิมะของญี่ปุ่นได้อย่างปลอดภัย"
การตอบสนองในญี่ปุ่น
นายกรัฐมนตรี นาโอโตะ คัง ประกากว่ารัฐบาลได้เรียกระดมกองกําลังป้องกันตนเองของญี่ปุ่น
เข้าไปในพื้นที่ประสบภัยพิบัติแผ่นดินไหวแล้วหลายพื้นที่ เขาขอร้องให้สาธารณชนญี่ปุ่นอยู่ในความ
สงบและคอยรับฟังข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เพื่อรับทราบข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลง อีกทั้งยังได้รายงานว่า
เครื่องปฏิกรณ่นิวเคลียร่หลายครั้งได้ปิดตัวลงอัตโนมัติเพื่อป้องกันความเสียหายและการรั่วไหลของ
กัมมันตรังสี ในที่นี้นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นเองยังได้จัดตั้งกูนย่ฉุกเฉินในสํานักงานเพื่อประสานการ
ตอบสนองของรัฐบาล
ปัญหาที่กูนย่อพยพได้ประสบในขณะนั้นคือการขาดแคลนน้ําดื่มพกพา อาหาร ผ้าห่ม และสิ่ง
อํานวยความสะดวก ห้องน้ํา โดยรัฐบาลได้จัดการของจําเป็นเหล่านี้ส่งไปยังพื้นที่ที่ต้องการเร่งด่วน
อย่างรวดเร็วที่สุดเท่าที่จะทําได้ จากหลายพื้นที่ของญี่ปุ่นและต่างประเทก อุณหภูมิที่ลดลงเนื่องจาก
สายไฟฟ้าและแก๊สถูกรบกวนนั้นได้สร้างปัญหาเพิ่มเติมที่ที่พักพิงชั่วคราวดังกล่าว เมื่อวันที่ 17 มีนาคม
พ .ก.2554 มีประชากรในญี่ปุ่น 336,521 คนที่ต้องย้ายออกจากบ้านและอากัยอยู่ที่อื่น รวมทั้งในที่พักพิง
ชั่วคราว 2,367 แห่ง นอกจากนี้ยังมีการเรียกตัวทีมค้นหาและกู้ภัยในเมืองของญี่ปุ่นที่ถูกส่งตัวไปยัง
นิวซีแลนด่ ภายหลังแผ่นดินไหวที่ไครสต่เชิร่ช พ .ก.2554 ให้กลับประเทก
สื่อหลายสํานักรายงานว่าชาวญี่ปุ่นรับมือกับภัยธรรมชาติดังกล่าวอย่างเป็นระเบียบและอดทน
โดยไม่มีการปล้นหรือเกิดเหตุรุนแรงขึ้นแต่อย่างใด นอกจากนี้ชาวญี่ปุ่นยังเข้าแถวรอซื้อสินค้าแม้ว่า
สินค้านั้นจะหมดไปแล้วก็ตาม ซึ่งลักกณะเช่นนี้อาจเป็นลักกณะเฉพาะของชาวญี่ปุ่น
31
สิบวันหลังจากเกิดแผ่นดินไหว ได้เริ่มต้นมีรายงานการลักขโมยและลักทรัพย่ในพื้นที่ประสบ
ภัยพิบัติแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ เมื่อถึงวันที่ 20 มีนาคม ตํารวจจังหวัดมิยะงิได้รับรายงานว่ามีการ
ก่อเหตุลักทรัพย่ขึ้น 250 ครั้ง และสินค้าถูกขโมยไปจากร้านค้ารวมมูลค่า 4.9 ล้านเยน และเงินสด 5.8
ล้านเยน พยานรายงานว่าโจรได้ขโมยเงินสดและสมุดเงินฝากธนาคารจากบ้านที่ถูกทําลาย ฉกชิงทรัพย่
จากร้านค้า และถ่ายน้ํามันจากยานพาหนะที่ถูกทิ้งไว้หรือได้รับความเสียหาย
สภาพความเสียหายหลังเหตุการณ์จากการบันทึกของชาวเมืองในจังหวัดฟุคุชิมะ (ไม่ระบุนามผู้เขียน(
รูปที่ ๔ การต่อแถวซื้อของที่ร้านค้า
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
ร้านค้าจํานวนมากได้รับผลกระทบจากเหตุการณ่แผ่นดินไหวจนต้องปิดร้านชั่วคราว ในวันที่
เกิดเหตุฉันไม่ได้ออกไปซื้อของที่ไหนเลย แต่วันต่อมาไม่ว่าจะเดินไปทางไหนก็ไม่เจอร้านที่พอจะเข้า
ไปซื้อของได้เลย บางร้านก็ต้องต่อแถวรอตรงทางเข้าเป็นเวลานาน บางร้านก็ปิด แต่สองวันถัดมาใน
วันที่ 14 มีนาคม เวลาประมาณสี่โมงเย็น ในที่สุดก็เจอร้านที่พอจะเข้าไปจับจ่ายซื้อของได้ ร้านนั้นเป็น
เหมือนโฮมเซ็นเตอร่ซึ่งภายในร้านได้รับความเสียหายจากแผ่นดินไหวทําให้ค่อนข้างอันตราย ทางร้าน
จึงให้ลูกค้ายืนต่อแถวด้านนอกพร้อมทั้งให้ทุกคนเขียนสิ่งที่ต้องการซื้อลงในกระดาก จากนั้นพนักงาน
จะเป็นคนไปหยิบสินค้านั้นๆ มาให้ สินค้าบางอย่างก็ขายหมดไปในชั่วพริบตา อย่างเช่น พลาสติกบรรจุ
น้ําแร่ บะหมี่กึ่งสําเร็จรูป ตะเกียงน้ํามัน เป็นต้น บางคนก็ได้ซื้อห้องน้ําแบบพกพาไว้ซึ่งเป็นการ
เตรียมพร้อมที่ดีมาก แต่พอช่วงเช้าของวันถัดไป พอฉันเดินผ่านหน้าร้านนี้อีกครั้งก็พบว่าร้านยังไม่ได้
32
เปิดทําการเลย
สี่วันหลังเหตุการณ่แผ่นดินไหว ซึ่งก็คือวันที่ 15 มีนาคม ช่วงก่อนเที่ยงวันมีผู้คนที่ต้องการซื้อ
ของไปยืนต่อแถวที่หน้าร้านขายเครื่องบริโภค ซึ่งแต่ละครั้งจะปล่อยให้ลูกค้าเข้าไปซื้อของด้านในร้าน
ได้รอบละ 30 คน เป็นเวลาประมาณ 30 นาที จากการสอบถามพนักงานของร้านจึงทราบว่าร้านจะเปิด
ถึงแค่บ่าย 2-3 โมงเท่านั้น เพื่อความปลอดภัยของพนักงานร้าน เนื่องจากร้านที่เปิดทําการตอนนี้มี
พนักงานเก็บเงินเพียงแค่ 2-3 ส่วนเท่านั้น อีกทั้งยังต้องมีการเตรียมพนักงานไว้สําหรับเฝ้าดูเหตุการณ่
ความเสียหายหรืออันตรายที่เกิดขึ้นจากแผ่นดินไหว สถานการณ่ตอนนี้จึงอยู่ในสภาวะที่ขาดกําลังคน
เป็นอย่างมาก ทําให้ต้องจํากัดระยะเวลาในการเปิดร้าน
อันที่จริงหลังเกิดแผ่นดินไหว ฉันมาร้านนี้เป็นครั้งที่สามแล้ว ครั้งแรกมาตอนห้าโมงเย็น ครั้งที่
สองมาอีกวันหนึ่งตอนสี่โมงเย็น แต่ทั้งสองครั้งที่มาร้านก็ปิดอยู่ตลอด ในครั้งที่สองที่มานั้นหน้าร้านมี
กระดากเขียนติดไว้ว่าจะเปิดทําการพรุ่งนี้ตั้งแต่เวลา 10 โมง ทําให้ในที่สุดฉันจึงได้เข้าไปซื้อของในวัน
และเวลาดังกล่าว
รูปที่ ๖
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
แน่นอนว่าสินค้าภายในร้านนั้นมีน้อย เพราะมีจํานวนสินค้าที่ขาดตลาดเพิ่มมากขึ้น ฉันเอง
ตั้งใจจะซื้อนมวัวแต่ก็หาไม่เจอ ทั้งๆที่มั่นใจว่าจะต้องอยู่บนชั้นนั้นแท้ๆ สุดท้ายจึงต้องซื้อนมถั่วเหลือง
กลับไปแทน ที่ยิ่งไปกว่านั้นคือตั้งแต่บนชั้นวางอาหารสําเร็จรูปไปบนถึงทางเดินด้านโน้นแทบไม่มี
อะไรหลงเหลืออยู่เลย ฉันคิดว่าคงจะถูกกว้านซื้อไปหมดตั้งแต่วันถัดมาหลังเกิดแผ่นดินไหวแน่ๆ
33
รูปที่ ๗ ชั้นขนมปังที่สินค้าขาดตลาดชัว่ คราว
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
ตรงจุดขายขนมปังก็มีสภาพเช่นเดียวกัน เนื่องจากโรงงานผลิตขนมปังได้รับความเสียหายทํา
ให้ต้องใช้เวลาในการฟื้นฟูสักระยะหนึ่งก่อนจะเริ่มทําการผลิตใหม่อีกครั้ง
รูปที่ ๘ เขตอันตรายที่ทางร้านใช้กรวยกั้นไว้
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
ภายในร้านค้าขนาดใหญ่นั้นได้มีการติดตั้งที่กั้นกระจกตรงเพดานเพื่อป้องกันปัญหาควันไฟใน
ยามที่เกิดเพลิงไหม้ ซึ่งในจุดนี้เองที่ก็ได้รับความเสียหายด้วยเช่นกัน จากที่จะมีที่กั้นกระจกเรียง
ต่อเนื่องกันอยู่ก็จะสังเกตเห็นได้จากในรูปถ่ายว่ากระจกที่อยู่ส่วนหน้านั้นหายไป ขณะเดียวกันเพื่อ
ป้องกันไม่ให้ผู้คนเข้าไปใกล้ในบริเวณที่เสี่ยงต่อการหลุดร่วงของเกกกระจก จึงได้มีการตั้งกรวยสีแดง
ไว้เพื่อความปลอดภัย และนี่ก็อาจเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทางร้านต้องจํากัดการเข้าออกของลูกค้า
34
รูปที่ ๙ ภายนอกร้าน
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
รูปที่ ๑๐
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
สิ่งที่อยากให้สังเกตในภาพคือหลอดไฟ บริเวณแผนกขายอาหาร นั้นมีการ (ภาพบน)ใช้ไฟ
เพียงหนึ่งในสามส่วน และบริเวณอื่นจะเปิดไปใช้แค่สองในสามส่วนเท่านั้น ฉันคิดว่าบริเวณแผนก
อาหารคงจะมืดจนยากต่อการเลือกอาหารแน่ๆ แต่ความจริงแล้วกลับไม่มีปัญหาเลย ทั้งๆ ที่จังหวัดฟุคุชิ
มะถูกถอดออกจากพื้นที่เป้าหมายที่ต้องปิดไฟแล้วแต่สถานประกอบการณ่ก็ยังคงให้ความร่วมมือเป็น
อย่างดี ทําให้ฉันรู้สึกตื้นตันใจมาก ส่วนภูมิภาคคันโตซึ่งทําหน้าที่เป็นผู้กําหนดแผนการประหยัดไฟนี้
ฉันก็ไม่รู้ว่าสถานการณ่ตอนนี้จะเป็นยังไงบ้าง
เวลา7 โมงเช้าของวันที่ 16 หลังจากที่เหตุการณ่แผ่นดินไหวผ่านไปแล้วห้าวัน จะเห็นว่ามี
รถยนต่จํานวนมากเข้าคิวรอเติมน้ํามันเชื้อเพลิงอยู่หน้าปั๊มน้ํามันที่ปิดอยู่ ท่ามกลางอากากที่หนาวเหน็บ
35
เจ้าของรถบางคันก็ต้องติดเครื่องยนต่ไว้ตลอดเวลาเพื่อให้เครื่องทําความร้อนภายในรถทํางาน เมื่อมอง
ภาพนั้นฉันก็เผลอคิดไปว่าถ้าปั๊มน้ํามันเปิดให้บริการจริงแล้วเติมน้ํามันไปซัก 10 ลิตรแล้วล่ะก็ น้ํามัน
ในรถจะเพิ่มปริมาณขึ้นซักเท่าไหร่กันนะ
ยังรู้สึกข้องใจอยู่ ไม่กี่วันให้หลังจึงได้แวะไปดูที่ปั๊มหลังจากนั้นฉันก็น้ํามันแห่งนี้อีกครั้งก็
พบว่ามีป้ายประกากเขียนติดอยู่ว่า ‚กําหนดการในการขายครั้งต่อไปยังไม่แน่นอน‛ ซึง่ ขณะนั้นก็ไม่มี
รถเข้าคิวรอเลยแม้แต่คันเดียว ส่วนรถที่อยู่ในรูปนี้ไม่แน่ว่าอาจจะได้น้ํามันแล้วแต่ก็ไม่รู้อยู่ดีว่าจะเติม
น้ํามันไปได้มากน้อยเท่าไหร่
ภาระที่ร้านค้าต้องแบกรับไว้ ปัญหาหนึ่งคือการที่ไม่สามารถรับรองความปลอดภัยของ
พนักงานได้ดังที่กล่าวไปแล้วข้างต้น อีกสาเหตุหนึ่งที่ฉันคิดไว้คือทางร้านมีจํานวนพนักงานไม่เพียงพอ
เนื่องจากมีปัญหาติดขัดด้านการเดินทางเพราะขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิง เมื่อลองถามเพื่อนรุ่นรุ่นราว
คราวเดียวกันที่ใช้รถยนต่ในการเดินทางไปมหาวิทยาลัยนอกจากกลุ่มที่บอกว่าได้สํารองน้ํามันไว้เต็มถัง
แล้วนั้น ก็ยังมีบ้างที่ต้องเลือกเดินทางไปมหาวิทยาลัยโดยใช้บริการรถประจําทาง การเดินทา)งไป
มหาวิทยาลัยฟุคุชิมะด้วยรถประจําทางนั้นไม่สะดวกเลยยิ่งไปกว่านั้นพอทราบข่าวจากวิทยุที่สัมภากณ่ (
ร้านค้าว่าการขาดแคลนน้ํามันเชื้อเพลิงทําให้การขนส่งสินค้ามายังฟุคุชิมะนั้นต้องหยุดชะงักหริล่าช้าลง
ทําให้รู้สึกว่าฟุชิมะได้กลายเป็นเมืองที่เมื่อไม่มีน้ํามันก็ไม่สามารถทําอะไรได้เลยจริงๆ นะ สําหรับคนที่
ใช้จักรยานอย่างฉันมันก็ค่อนข้างยากที่จะยอมรับ แต่สถานการณ่ตอนนี้คําว่าน้ําคือชีวิตก็คงจะเทียบได้
กับน้ํามัน
รูปที่ ๑๑
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
36
ผ่านไปแล้วกว่า 2 สัปดาห่ เช้าของวันที่ 24 มีนาคม จากที่ว่าเมื่อวันก่อนไม่มีอะไรเลยแต่อยู่ๆ ก็
มีขบวนรถต่อคิวกันเป็นแถวยาว ฉันเดาว่าข้างหน้าอาจจะมีปั๊มน้ํามันก็ได้ ซึ่งพอตรวจดูจากแผนที่แล้วก็
ปรากฏว่าถัดไปด้านหน้าประมาณหนึ่งกิโลเมตรมีปั๊มน้ํามันอยู่จริงๆ ด้วย ซึ่งระหว่างทางขากลับฉันลอง
แวะที่ปั๊มนั้นดู ก็พบว่ามีกระดากเขียนติดไว้ว่าวันนี้ปิดให้บริการแล้วพร้อมกับมีเชือกขึงกั้นไว้ไม่ให้เข้า
ไปด้ายใน แต่เมื่อมองเข้าไปด้านในก็เห็นแท็งก่ตั้งอยู่ คิดว่าพรุ่งนี้เขาอาจจะเปิดขายอีกก็ได้
รูปที่ ๑๒
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
เวลาเจ็ดโมงเช้าของวันที่ 25 ก็ยังคงเหมือนเมื่อวันก่อน คือมีรถจํานวนมากต่อคิวรออยู่โดยที่
ไม่รู้ว่าปลายสุดของหางแถวนั้นยาวไปถึงตรงไหน ถ้ามองจากตรงนี้คาดว่าอาจจะยาวถึง 1.5 กิโลเมตร
เลยก็ได้ ซึ่งก็ไม่รู้ว่าปั๊มน้ํามันจะเริ่มเปิดให้บริการตั้งแต่กี่โมง แต่ที่แน่ๆ คือหลังจากนี้อย่างน้อยหนึ่ง
ชั่วโมงรถพวกนี้ก็ยังคงไม่ขยับไปไหนแน่ๆ และเพื่อเป็นการประหยัดน้ํามันรถหลายคันที่จอดรออยู่จึง
ดับเครื่องยนต่ไว้แล้วนอนเอนกายพักผ่อนรออยู่ในรถ
37
รูปที่ ๑๓
ที่มา : http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm
ก่อนหน้านี้ไม่กี่วัน ฉันได้ยินมาว่ามีคนที่ไปจอดรถรออยู่ถึงสี่ชั่วโมงแล้วเติมน้ํามันกลับมาถึง
20 ลิตร ซึ่งตอนแรกฉันมองว่ามันเป็นวิธีการโกงอย่างหนึ่ง แต่ตอนนี้ฉันกลับมองว่ามันเป็นการต่อสู้ใน
เรื่องของความอดทน ในขณะที่อีกด้านหนึ่งฉันก็รู้สึกว่าการที่มีรถต่อแถวกันยาวขนาดนี้นี่มันเป็นการ
กระทําที่สูญเปล่าของสังคมรึเปล่านะ เพราะการที่น้ํามันเชื้อเพลิงกลายเป็นเหมือนน้ําหล่อเลี้ยงชีวิต
ให้แก่สังคม มันก็น่าเป็นห่วงเหมือนกันว่าตรงจุดนี้จะทําให้สังคมเรากลายเป็นสังคมที่เปราะบางหรือไม่
3.1.6 อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัย
เนื้อความที่ปรากฏด้านล่างนี้ เป็นการแปลบันทึกของผู้ที่เข้าร่วมกิจกรรมอาสมัครช่วยเหลือใน
พื้นที่ประสบภัย ภูมิภาคโทโฮคุ ซึ่งผู้วิจัยได้รวบรวมบันทึกตัวอย่างทั้งจากของอาสาสมัครเองและจาก
คนในท้องถิ่นประสบภัยที่ได้รับความช่วยเหลือ
บันทึกชิ้นแรกนี้เป็นบันทึกของคุณวาดะ อากิโกะ ที่เขียนขึ้นเมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ค .ศ.2011 จาก
เว็บไซด์ส่วนตัว http://wada.cocolog-nifty.com/blog//10/2011post-9dd.8html
‚ เมื่อช่วงสุดสัปดาห่ของปลายเดือนตุลาคม ฉันได้เข้าร่วมโครงการอาสาสมัครที่เข้าไป
ช่วยเหลือในการกําจัดสารปนเปื้อนตกค้างในพื้นที่ประสบภัย ซึ่งจัดขึ้นโดยองค่กรสวัสดิการสังคม
ประจําจังหวัดฟุคุชิมะ รอบๆ ตัวฉันก็มีผู้คนอีกจํานวนมากที่อยากเข้าร่วมโครงการอาสาสมัครนี้เช่นกัน
38
ดังนั้นฉันจึงเขียนบันทึกนี้ขึ้นเพื่อบอกเล่าประสบการณ่ให้แก่ผู้ที่สนใจอยากเข้าร่วมเป็นอาสาสมัคร
หลังจากนี้
ภายหลังเหตุการณ่แผ่นดินไหวและการรั่วซึมของเตาปฏิกรณ่นิวเคลียร่เมื่อวันที่ 11 มีนาคม
ค .ก.2011 ได้มีการตรวจพบการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสีเป็นพื้นที่ในวงกว้าง จากโรงไฟฟ้าปฏิกรณ่
นิวเคลียร่แพร่ขยายไปทางทิกตะวันตกเฉียงเหนือซึ่งเป็นที่ตั้งของจังหวัดฟุคุชิมะ และพบว่าในบางพื้นที่
มีปริมาณกัมมันตรังสีในระดับสูง ซึ่งสารกัมมันตรังสีปริมาณหนึ่งไมโครซีเวิร่ต หน่วยที่ใช้วัดปริมาณ)
)รังสีที่ดูดกลืนabsorbed-doseหรือปร (ิมาณที่เนื้อเยื่อได้รับ เรียกว่า ซีเวิร่ต )Sievertแต่ในระดับรังสีที่ (
พบทั่วไปจะอยู่ในหน่วย‚มิลลิซีเวิร่ต )Millisievert(‛ หรือไมโครซีเวิร่ต )Microsievertซึ่งเป็นหน่วยที่ (
เล็กกว่าซีเวิร่ตพันเท่าและล้านเท่าตามลําดับ โดยเฉลี่ยเราได้รับรังสีจากธรรมชาติปีละ2.4 มิลลิซีเวิร่ต (
ที่พบบริเวณผนังของอาคารสิ่งก่อสร้างหรือหลังคาสามารถทําลายได้ด้วยเครื่องทําความสะอาดที่มีความ
เข้าไปช่วยกัน (ทหาร) ร้อนสูง เป็นต้น ในแต่ละพื้นที่ก็จะมีทั้งชาวบ้านและกองกําลังป้องกันตนเอง
ฟื้นฟูในส่วนที่เสียหาย แต่ทั้งนี้เนื่องจากความเสียหายดังกล่าวกินพื้นที่ในวงกว้างทําให้กําลังคนไม่
เพียงพอต่อพื้นที่ เมื่อเดือนที่แล้ว องค่กรสวัสดิการประจําจังหวัดฟุคุชิมะจึงต้องออกมารับ (กันยายน)
สมัครคนเพื่อเข้าไปช่วยเหลือในพื้นที่
ก่อนที่จะเดินทางไปยังจังหวัดฟุคุชิมะนั้นมีหลายคนเข้ามาถามว่าจะไม่มีปัญหาหรือผลกระทบ
ด้านสุขภาพตามมาทีหลังหรือ ซึ่งตัวฉันคิดว่าโครงการอาสาสมัครที่ฉันจะไปทํานี้ไม่ใช่งานที่อันตราย
หรืออยู่ในระดับที่จะส่งผลกระทบต่อสุขภาพเลยแม้แต่น้อย แน่นอนว่าในพื้นที่ย่อมต้องมีปริมาณสาร
กัมมันตรังสีในอัตราที่สูงกว่าปกติทั่วไป แต่ไม่ได้หมายความว่าวัตถุหรือสารดังกล่าวจะปนเปื้อนอยู่
ทั่วไปในอากากทันทีหลังจากเกิดเหตุการณ่ขึ้น เพียงแต่จะมีบางส่วนที่ซึมลงไปในดินหรือปนเปื้อนอยู่
ตามใบไม้เท่านั้น อย่างไรก็ตามก็คงจะมีคนจํานวนไม่น้อยที่กังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้ โดยส่วนตัวแล้วฉัน
คิดว่าถ้ายังมีความคิดที่ว่าต้องเตรียมตัวเตรียมใจกับเรื่องของสารปนเปื้อนเหล่านี้ก็คงไม่จําเป็นต้องเข้า
มาเป็นอาสาสมัครก็ได้ เพราะคนที่อยู่ในจังหวัดฟุคุชิมะเองก็คงไม่อยากให้ผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
อาสาสมัครมาด้วยความรู้สึกแบบนี้ เพราะถ้าจะมาฉันคิดว่าก็น่าจะมาด้วยใจที่ยอมรับว่าที่ฟุคุชิมะนี้ไม่มี
ปัญหาอะไรต้องกังวลมากกว่า นอกจากนี้ตลอด 3-4 เดือนหลังเกิดเหตุการณ่นี้ขึ้น ก็ได้มีผู้คนจํานวน
มากจากทั่วประเทกหลั่งไหลเข้ามาให้ความช่วยเหลือฟื้นฟูพื้นที่และจัดการกับปัญหาสารกัมมันตรังสีที่
ตกค้างเพื่อให้คนในพื้นที่สามารถดําเนินชีวิตต่อไปได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กที่อากัยอยู่ในบริเวณนั้น
ตัวฉันเองคิดว่ามันคงจะดีมากถ้าหากโครงการฟื้นฟูนี้สามารถเดินหน้าไปได้อย่างรวดเร็ว ซึ่งถ้าทุกคน
ช่วยกันแล้วมันต้องสําเร็จในเร็ววันนี้แน่ๆ
39
ฉันเดินทางไปยังจังหวัดฟุคุชิมะโดยรถไฟฟ้าชินกังเซ็น ซึ่งช่วงนั้นได้มีการจําหน่ายตั๋วรถไฟใน
ราคาพิเกกสําหรับผู้ที่จะเดินทางไปยังจังหวัดที่ประสบภัย เมื่อเดินทางไปถึงยังจุดนัดพบที่สถานีรถไฟฟุ
คุชิมะแล้ว ทางเจ้าหน้าที่ก็ได้จัดเตรียมรถประจําทางขนาดเล็กจํานวน 25 ที่นั่งสองคันเพื่อพากลุ่ม
อาสาสมัครที่มีจํานวนรวมเกือบ 30 คนเข้าไปยังเมืองปลายทาง
รถวิ่งผ่านใจกลางเมืองมุ่งหน้าไปยังทิกตะวันออกซึ่งเป็นจุดประสบภัยที่มีบรรยากากเงียบสงบ
รายล้อมไปด้วยภูเขาและทุ่งนา ซึ่งที่เมืองนี้ได้มีการวัดปริมาณสารกัมมันตรังสีพร้อมกันทั่วทั้งเมืองโดย
พบว่ามากกว่าร้อยละ 50 ของจุดประสบภัยทั้งหมดมีสารตกค้างอยู่ปริมาณ 2 ไมโครซีเวิร่ต และถูก
บันทึกให้เป็นพื้นที่ที่มีการปนเปื้อนของสารในระดับสูงสุด
ที่จุดนัดรวมพลในเขตพื้นที่ประสบภัย บริเวณด้านหน้ามีจุดลงทะเบียนสําหรับอาสาสมัครที่มา
เข้าร่วม เมื่อแจ้งชื่อทุกคนก็จะได้รับปลอกแขน เครื่องวัดปริมาณสารพิก และกลุ่มที่ตนเองสังกัดอยู่ซึ่ง
ฉันอยู่จัดให้อยู่ในกลุ่มเอ นอกจากนี้บริเวณทางเข้าอาคารยังมีของใช้ที่จําเป็นที่ทางเจ้าหน้าที่ได้
จัดเตรียมไว้ให้ ได้แก่ ถุงมือพลาสติกชนิดใช้แล้วทิ้ง ถุงมือผ้า ผ้าขนหนู กระดากชําระแบบเปียกและ
หน้ากากอนามัย
เมื่อเข้าไปด้านในที่จัดไว้สําหรับการปฐมนิเทก ฉันก็พบว่ามีผู้สื่อข่าวจากสถานีโทรทักน่ถึง
สามช่อง รวมทั้งแหล่งข่าวจากหนังสือพิมพ่ต่างเข้ามาเก็บข้อมูลกิจกรรมในวันนี้ด้วย อีกทั้งฉันเองยัง
ทราบภายหลังจากข้อมูลบนหน้าเว็บไซด่ว่าในช่วงเช้าของวันเดียวกันมีกลุ่มอาสาสมัครมาแล้วถึง 70
คนซึ่งเมื่อรวมกับกลุ่มที่ตามมาในช่วงบ่ายก็จะมีจํานวนถึง 109 คนด้วยกัน
เจ้าหน้าที่ผู้ชํานาญการที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับงานป้องกันภัยสังกัดกองกําลังป้องกันตนเองซึ่ง
เข้ามาให้ความช่วยเหลือพื้นที่ประสบแห่งนี้ เป็นผู้ทําหน้าที่บรรยายและอธิบายรายละเอียดต่างๆ ทั้ง
เรื่องความปลอดภัยและสิ่งที่เป็นอันตราย แน่นอนว่างานที่เราจะได้รับมอบหมายต่อจากนี้เป็นงานที่ไม่
มีอันตรายต่อสุขภาพอย่างแน่นอน เพียงแต่ว่าทุกคนต้องมีการป้องกันตัวโดยการใช้อุปกรณ่ที่เจ้าหน้าที่
จัดเตรียมไว้ให้โดยเฉพาะหน้ากากอนามัย
งานที่พวกเราได้รับมอบหมายคือการเก็บกวาดเกกใบไม้ร่วงและการกลบหน้าดิน ซึ่งมีการ
แบ่งกลุ่มออกเป็นทั้งหมดสี่กลุ่มและแต่ละกลุ่มก็จะกระจายไปทํางานในแต่ละพื้นที่ โดยกลุ่มของฉัน
เนื่องจากว่าสมาชิกส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงจึงทําหน้าที่เก็บกวาดเกกใบไม้ร่วงที่โรงเรียนประถมใกล้ๆ กับ
40
ที่รับลงทะเบียนเมื่อตอนต้น ส่วนงานของกลุ่มบีนั้นเป็นงานในพื้นที่ที่อยู่ห่างออกไปจึงต้องอากัยรถ
ประจําทางในการเดินทางอีกทั้งยังเป็นงานที่ค่อนข้างใช้แรง คือต้องผสมดินที่ดีเข้ากับดินในพื้นที่เดิมซึ่ง
ก่อนหน้านี้ชาวบ้านได้แยกดินส่วนที่ปนเปื้อนสารออกไปแล้ว งานประเภทหนักเช่นการใช้เครื่องทํา
ความสะอาดที่มีความร้อนสูงทําการชะล้างท่อระบายน้ําหรือที่ที่มีสารปนเปื้อนในระดับสูงนั้นทาง
เจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญและชาวบ้านจะเป็นผู้รับผิดชอบ และจัดสรรงานที่ปลอดภัยกว่าในสถานที่ที่ได้รับ
การฟื้นฟูหรือมีปริมาณสารกัมมันตรังสีที่ลดลงแล้วให้แก่บรรดาอาสาสมัคร
ระหว่างการทํางานฉันได้มีโอกาสพูดคุยกับอาสาสมัครคนอื่นๆ ซึ่งพบว่ามากกว่าครึ่งหนึ่งมา
จากภูมิภาคคันโต (ภาคกลาง) นอกจากนั้นยังมีผู้คนที่มาจากฮอกไกโดบ้าง จังหวัดฟุคุอิบ้าง หรือแม้แต่
ผู้คนจากโกเบเองก็มาเข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้ บางคนมาเป็นคู่สามีภรรยา หรือมากับเพื่อนรุ่นราวคราว
เดียวกัน หรือบางคนก็มากับเพื่อนที่ก่อนหน้านี้เคยเป็นอาสาสมัครลงพื้นที่บริเวณชายฝั่งที่ประสบภัยสึ
นามิ
ผ่านไปแล้วสองชั่วโมงจนเลยมาถึงเวลาพักเที่ยง เมื่อกลับไปยังห้องปฐมนิเทกก็พบว่ามีโต๊ะกับ
เบาะรองนั่งวางเรียงเตรียมไว้แล้วพร้อมน้ําหรือชาและซุปมิโสะร้อนๆ ข้างนอกมีกลุ่มแม่บ้าน 3-4 คน
ที่มาทําอาหารเตรียมรอไว้ให้แก่บรรดาอาสาสมัคร โดยก่อนหน้านี้ในที่บรรยายปฐมนิเทกทางฝ่าย
เจ้าหน้าที่เองก็ได้แจ้งว่าด้วยความรู้สึกขอบคุณจากชาวบ้านในพื้นที่ที่มีต่อกลุ่มอาสาสมัคร ดังนั้นในการ
เตรียมอาหารจึงได้คัดเลือกวัตถุดิบที่ปลอดภัยเพื่อความสบายใจของทุกท่าน
นอกจากอาหารแล้ว บนโต๊ะยังมีหนังสือพิมพ่ท้องถิ่นฉบับล่าสุดวางอยู่ เมื่อเข้าสู่เดือนกันยายน
แล้วในที่สุดนโยบายหรือแนวทางเกี่ยวกับสารปนเปื้อนในแต่ละท้องที่ก็ได้รับการตีพิมพ่ออกมา ซึ่งโดย
ส่วนตัวแล้วฉันคิดว่ามันน่าจะลงมือทําให้ไวกว่านี้ไม่ใช่หรือไงกัน แทนที่จะมองย้อนกลับไปวิจารณ่หรื
อนึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นไปแล้ว การมุ่งไปข้างหน้าทั้งทางด้านความคิด กําลังคน และเวลาน่าจะดีกว่า การ
เข้ามาทํางานอาสาสมัครนี้ลําพังเพียงแค่ฉันคนเดียวคงจะเป็นสิ่งที่เล็กน้อยมากๆ แต่จํานวนคนทั้ง 109
คนที่มารวมตัวกันและช่วยกันทํางานในตอนนี้ทําให้สามารถจัดการกับปัญหาในพื้นที่ได้มากทีเดียว
ช่วงบ่ายเราก็ยังคงปฏิบัติหน้าที่กันต่อไปจนถึงช่วงสุดท้ายของวันที่เราต้องวัดปริมาณสารใน
ร่างกายอีกครั้งก่อนจะส่งคืนเครื่องวัดปริมาณสารที่ได้รับมาตอนเช้า หลังจากนั้นผู้อํานวยการเขตที่ทํา
กิจกรรมร่วมกันมาตลอดทั้งวันก็ได้เข้ามาพูดคุยกับพวกเรา ท่านได้กล่าวว่า
41
‚ บริเวณแถบตะวันออกของจังหวัดฟุคุชิมะนั้น แต่เดิมเป็นที่ที่มีอากากสดใส มี
สภาพแวดล้อมที่ดี ผู้คนต่างดํารงชีวิตร่วมกันอย่างสันติสุข แต่เมื่อเกิดภัยพิบัติครั้งนี้ขึ้น สิ่งที่เกิดขึ้น
ตามมาคือความแห้งแล้งในจิตใจของผู้คน ความขัดแย้ง และใบหน้าที่เกร้าโกกของผู้คน เราต้องการให้
ความเป็นอยู่ก่อนที่จะเกิดสึนามิครั้งใหญ่นี้กลับคืนมา ซึ่งก้าวแรกที่จะต้องลงมือปฏิบัติคือการกําจัดสาร
ปนเปื้อน ดังนั้นพวกเราจึงอยากขอบคุณทุกท่านที่ได้ให้ความช่วยเหลือ และต่อจากนี้เราก็หวังว่าคงจะ
ได้รับความร่วมมือจากทุกท่านอีกเช่นกัน ‚
พอฟังมาถึงตรงนี้แล้ว ฉันก็เกิดแรงบันดาลใจว่าหลังเดือนพฤกจิกายนจะต้องกลับมาที่นี่อีกครั้ง
ให้ได้ และก่อนที่จะขึ้นรถประจําทางเพื่อออกเดินทางกลับ ฉันก็ได้บอกกล่าวความตั้งใจนี้แก่คนใน
ท้องถิ่นที่อุส่าออกมาส่งพวกเรา แม้ว่าฉันจะไม่สามารถทําสิ่งที่ยิ่งใหญ่หรือสําคัญได้แต่อย่างน้อยฉันก็
ได้เป็นส่วนหนึ่งของงานนี้ ทั้งการกําจัดสารปนเปื้อน หรืองานอื่นๆ ที่เป็นหน้าที่ของประเทกนี้ยังมีอีก
มากมายราวกับภูเขา เพราะฉะนั้นไม่ว่าจะเป็นคนที่มองโลกในแง่ร้ายหรือเอาแต่วิพากก่วิจารณ่ยังไงก็
ตามก็ไม่ได้ช่วยให้อะไรเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้น ฉันคิดว่าการลงมือทําอย่างรวดเร็วที่สุดน่าจะ
ดีกว่า อย่างน้อยก็ก้าวต่อไปข้างหน้าที่ละขั้น แบ่งหน้าที่กันช่วยเหลือกันทํางานอย่างแข็งขันและเต็มไป
ด้วยรวยยิ้ม ส่วนตัวฉันเองซึ่งทํางานอิสระอีกทั้งยังอากัยอยู่ตัวคนเดียวไม่ได้อยู่กับครอบครัวจึงไม่ได้มี
ปัญหาเรื่องการเข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัครแต่อย่างใด แน่นอนว่าฉันจะต้องหาเวลากลับมาที่จังหวัดฟุคุ
ชิมะแห่งนี้อีกครั้ง‛
………………..
42
บันทึกของคุณยูมิโกะ ซาโต้ (อิวาเตะ.เมืองริคุเซ็นทาคาตะ จ( เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม ค .ศ.2012
จากเว็บไซด์ http://www.iwate-svc.jp/category/sonota
‚นับตั้งแต่เกิดภัยพิบัติจนถึงเดือนพฤกจิกายน ด้วยความที่ว่าไม่อยากให้ทหารจากกองกําลัง
ป้องกันตนเองหรืออาสาสมัครทุกท่านต้องใช้ห้องน้ําที่ไม่สะอาด ฉันจึงตื่นขึ้นมาตอนตีห้าทุกวันเพื่อทํา
ความสะอาดห้องน้ําสาธารณะที่กาลาประชาคม
ตั้งแต่เดือนกรกฎาคมปีก่อนหน้า ฉันได้ช่วยเหลือประธานกลุ่มสตรีในการทํารองเท้าผ้า ซึ่ง
ตอนแรกฉันก็จดจําวิธีการทําแล้วนํามาสอนให้กับพวกคุณยายพร้อมๆ กับสร้างที่สําหรับรวมกลุ่มของ
พวกเราไปด้วย
การที่ได้อยู่ร่วมกับบรรดาอาสาสมัครนั้นสนุกนะคะ แล้วยังช่วยให้ตัวฉันเองรู้สึกเข้มแข็งขึ้นมา
ในยามที่เกิดความรู้สึกท้อแท้ด้วย
หลังจากนี้ไปก็ตั้งใจว่าจะสอนการทํากิโมโนที่มีความเป็นเอกลักกณ่เฉพาะตัวให้กับทุกคน
จากนั้นก็อยากที่จะทํากิโมโนขึ้นมาด้วยกันกับทุกคน เพราะฉันคิดว่าการที่ไม่มีอะไรให้จดจ่อแล้วเอาแต่
เก็บตัวเงียบอยู่คนเดียวน่ะเป็นอะไรที่เหงามากๆ จึงอยากจะใช้เวลากับทุกคนให้สนุกและช่วยสร้าง
ความเข้มแข็งให้แก่กันและกัน
สําหรับอาสาสมัครทุกท่านที่ได้เข้ามาให้ความช่วยเหลือ ไม่ว่าจะขอบคุณเท่าไหร่ก็คงไม่
เพียงพอ แต่อย่างไรก็ตามฉันก็อยากจะกล่าวแก่ทุกท่านว่าขอบคุณ ขอบคุณ ขอบคุณทุกท่านจากใจจริง
ตัวฉันเองไม่มีอะไรที่จะสามารถตอบแทนทุกท่านได้ มีเพียงขนมกังสึกิ(がんづき)ที่กําลังทําอยู่
เพราะฉะนั้นขอเชิญทุกท่านมาทานของอร่อยๆ ด้วยกันเถอะค่ะ‛
………………..
43
“ความมุ่งมั่นอันแรงกล้าของคุณตาวัย 63 ปี” อานาอิ เทรุโอะ
‚วันที่ 11 มีนาคม ปีเฮเซที่ 23 เวลา 14:46 น. ผมกําลังกวาดใบสนอยู่ที่สวนของโรงเรียนมัธยม
แผ่นดินไหวในครั้งนั้นนับว่าเป็นแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ที่สุดในชีวิตที่ผมเคยประสบมา หลังจากนั้นก็
เกิดอาฟเตอร่ช็อคตามมาเรื่อยๆ นับครั้งไม่ถ้วน ซึ่งผมก็สงสัยขึ้นมาทันทีว่านี่มันเกิดอะไรขึ้นกันแน่ พอ
เห็นข่าวในโทรทักน่จึงทราบว่าเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ขึ้นซึ่งมีจุดกูนย่กลางอยู่ที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
สิ่งที่จําได้ในตอนนั้นคือทันทีที่ทราบข่าวอันน่าตกใจนี้ ผมรู้สึกเหมือนกับว่าตัวเองนิ่งชาไปทันที พอ
ทราบรายละเอียดข่าวต่อๆไปในหัวสมองยิ่งว่างเปล่าไปหมด ทันใดนั้นก็มีความคิดหนึ่งแล่นเข้ามาใน
หัวคือผมอยากจะทําอะไรซักอย่าง ผมอยากจะไปยังที่เกิดเหตุเพื่อช่วยเหลือผู้คน ไม่ว่าจะทะอะไรในหัว
สมองของผมก็มีแต่ความคิดนี้เต็มไปหมด แต่ผมก็ไม่รู้ว่าควรจะทํายังไงดี
ตั้งแต่เกิดมาจนถึงตอนนี้ผมไม่เคยมีประสบการณ่ในการเข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัครเลย จึงไม่
รู้ว่าควรจะเริ่มจากตรงไหน ในตอนนั้นเองที่ผมเห็นประกากผ่านทางโทรทักน่เกี่ยวกับการรับ
อาสาสมัครโดยกูนย่กิจกรรมอาสาสมัครของโตเกียว ที่จะเริ่มเปิดรับสมัครในวันที่ 3 เดือนเมกายนนี้ ณ
ที่ทําการโตเกียว ผมจึงรีบเดินทางไปสมัครทันทีซึ่งก็พบว่ามีผู้มาสมัครถึง 350 คนด้วยกัน แต่จากที่ได้
ฟังการบรรยายต่างๆ แล้วจึงทราบว่าการรับอาสาสมัครครั้งนี้จะให้สิทธิสําหรับผู้ที่เคยมีประสบการณ่
มาก่อนจํานวน 40 คน เป็นอันว่าครั้งนี้ผมต้องกลับบ้านไปด้วยความผิดหวัง
หลังจากนั้น ผมเจอประกากรับสมัครอีกครั้งทางอินเตอร่เน็ท วันพรุ่งขึ้นผมจึงรีบไปดําเนินการ
ขั้นตอนในการสมัครต่างๆ ทันที ซึ่งเจ้าหน้าที่ติดต่อประสานงานที่นั่นก็ได้ช่วยอธิบายให้แก่ผมเป็น
อย่างดี จากนั้นจึงออกเดินทางมุ่งหน้าไปยังเมืองทากะโจ จ.มิยางิ ในวันที่ 5 เมกายน แล้วพักแรมในรถ
ก่อนที่จะเริ่มกิจกรรมตั้งแต่วันที่ 6 เมกายน เป็นระยะเวลาสองสัปดาห่แล้วจึงแยกย้ายกันกลับบ้าน เป็น
รูปแบบกิจกรรมไปกลับแบบนี้ประมาณสามครั้ง
44
พอนึกดูแล้วตอนที่บอกกับครอบครัวและคนรู้จักว่าจะเข้าร่วมกลุ่มอาสาสมัครนี้ ทุกคนต่างก็
ให้การสนับสนุนเป็นอย่างดี ซึ่งผมเองรู้สึกขอบคุณมากๆ นอกจากนี้ผมขอขอบคุณมีผู้ประสบภัย กลุ่ม
อาสาสมัครที่ทํางานร่วมกัน เจ้าหน้าที่ รวมถึงผู้ประสานงานกูนย่อาสาสมัคร ที่ต่างก็ให้ความดูแลเป็น
อย่างดี ในเร็วๆ นี้ผมจะต้องกลับไปยังเมืองทากะโจอีกแน่นอนครับ‛
เมื่อวันที่ 18 มิถุนายน ค.ก. 2011
………………..
45
กลุ่มอาสาสมัครที่อายุน้อยที่สุดในประเทศ ณ ศูนย์อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัย เขตนาโทริ จ.
มิยางิ – โอคุโบะ เทะสึโกะ
ฉันได้รับมอบหมายให้ไปประจําหน้าที่ที่กูนย่อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัย เขตนาโทริ จ.
มิยางิ ในช่วงระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤกภาคมเป็นระยะเวลาประมาณ 20 วัน
ที่กูนย่ช่วยเหลือผู้ประสบภัยเขตนาโทรินั้น อายุโดยเฉลี่ยของอาสาสมัครอยู่ที่ 26.6 ปี นับตั้งแต่
วันที่ 21 เดือนมีนาคมเป็นต้นมา นับได้ว่าเป็นกลุ่มอาสาสมัครที่มีอายุเฉลี่ยโดยรวมน้อยที่สุดในประเทก
นอกจากจะมีนักเรียนชั้นมัธยมต้นจนถึงระดับมหาวิทยาลัยแล้ว ยังมีคนหนุ่มสาววัยยี่สิบอีกจํานวนมาก
ที่มาเข้าร่วมกิจกรรม ซึ่งความมุ่งมั่นและตั้งใจจริงของพวกเขาทําให้ฉันรู้สึกเข้มแข็งและมีความกล้า
เพิ่มขึ้นอย่างมาก
ในกลุ่มผู้ประสบภัยเองก็มีการสร้างเงื่อนไขขึ้นมาว่าไม่อนุญาตให้เด็กนักเรียนชั้นมัธยมต้น
ทํางานหนัก เช่น ขนย้ายหรือรื้อถอนซากกระเบื้องหรือเกกหิน แต่หัวหน้ากองสวัสดิการสังคมให้เด็ก
เหล่านี้รับผิดชอบงานอื่นๆ ยกตัวอย่างเช่น การทําป้ายประกาก หรือ ป้ายคําเตือนต่างๆ เป็นต้น อีกทั้งยัง
มีรุ่นพี่ที่ชมรมวอลเล่ย่บอลของลูกสาวฉันก็อาสาเข้ามาช่วยทั้งงานที่ต้องใช้แรงและงานเขียนป้ายต่าง ๆ
ซึ่งแต่ละวันจะต้องใช้เวลาในการปั่นจักรยานมาที่กูนย่เป็นระยะเวลาถึง 50 นาที ทําให้ฉันรู้สึกว่าเขาเป็น
คนที่มีจิตใจดีมากๆ และฉันเองก็หวังว่าพวกเขาเหล่านี้จะเติบโตขึ้นและช่วยสานต่องานฟื้นฟูพื้นที่
เหล่านี้ต่อไปได้ในอนาคต
นอกจากนี้ยังมีผู้ประกอบการวัยหนุ่มสาวที่เดินทางเข้ามายังพื้นที่เพื่อช่วยเหลือ ซึ่งหลังการ
ทํางานก็มีเสียงประท้วงมาว่า พวกเขาอุส่าเดินทางมาไกลยอมเสียค่าน้ํามันรถเพื่อที่ต้องการจะทําอะไร
ซักอย่างที่เป็นประโยชน่แก่ผู้ประสบภัยแม้จะเพียงแค่ส่วนหนึ่งก็ตาม แต่เรากลับบอกพวกเขาว่าหมด
หน้าที่แล้วหลังจากที่ทํางานไปได้แค่ 3 ชั่วโมงครึ่ง พวกเขาต้องการช่วยงานมากกว่านี้ อยากทํางานไป
จนกว่าฟ้าจะมืด แต่ทั้งนี้เจ้าหน้าที่จากกองสวัสดิการก็พยายามรับมือกับข้อเรียกร้องจากพวกเขาเหล่านั้น
อย่างใจเย็นพร้อมทั้งอธิบายสภาพความเป็นไปในขณะนั้นอย่างนุ่มนวลจนพวกเขาเข้าใจ แม้ว่า
เจ้าหน้าที่คนนี้จะอายุน้อยกว่าฉัน แต่ฉันก็คิดว่าต่อจากนี้ไปในสังคมจําเป็นต้องมีคนที่เข้มแข็งแต่ก็มี
ความยืดหยุ่นเหมือนอย่างเช่นคนคนนี้ ‛
5 ธันวาคม ค.ก. 2011
46
จานวนรวม (ชั่วคราว( ของอาสาสมัคร ณ ศูนย์อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ
ตัวเลขที่ปรากฏด้านล่างนี้เป็นจํานวนอาสาสมัครที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านกูนย่อาสาสมัคร
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยหน่วยงานของเทกบาลในแต่ละท้องที่ ซึ่งนอกจากจํานวนที่แสดง
ด้านล่างนี้ยังมีกลุ่มอาสาสมัครอีกจํานวนมากที่ทํางานภายใต้องค่กรอิสระ )NPOหรือหน่วยงานอื่นๆ (
นอกจากนี้บางครั้งอาจมีการหยุดระงับการดําเนินกิจกรรมในการช่วยเหลือชั่วคราวอันเนื่องมาจาก
สภาพอากากที่ไม่เอื้ออํานวย ดังนั้นทําให้การรวบรวมจํานวนอาสาสมัครมีการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะ
จํานวนอาสาสมัครในแต่ละเดือน
จานวนรวมในสามจังหวัด
จังหวัดอิวาเตะ จังหวัดมิยางิ จังหวัดฟุคุชิมะ
เดือนมีนาคม ค .ก.2011
60,100
12,100
27,600
20,400
เดือนเมกายน ค .ก.2011
156,700
34,700
93,000
29,000
เดือนพฤกภาคม ค .ก.2011
171,900
46,000
91,500
34,400
เดือนมิถุนายน ค .ก.2011
129,500
42,200
64,800
22,500
เดือนกรกฎาคม ค .ก.2011
125,900
46,400
62,800
16,800
เดือนสิงหาคม ค .ก.2011
97,700
48,200
40,300
9,200
เดือนกันยายน ค .ก.2011
62,700
36,400
22,900
3,400
เดือนตุลาคม ค .ก.2011
50,100
25,500
20,600
4,000
เดือนพฤกจิกายน ค .ก.2011
37,700
19,900
15,500
2,300
เดือนธันวาคม ค .ก.2011
19,000
9,100
7,900
1,900
เดือนมกราคม ค .ก.2012
11,900
5,600
5,200
1,200
เดือนกุมภาพันธ่ ค .ก.2012
16,300
7,900
7,200
1,300
เดือนมีนาคม ค .ก.2012
31,400
13,500
16,000
1,900
เดือนเมกายน ค .ก.2012
23,400
10,400
11,700
1,300
เดือนพฤกภาคม ค .ก.2012
25,900
11,900
12,300
1,700
เดือนมิถุนายน ค .ก.2012
26,800
13,700
11,500
1,700
เดือนกรกฎาคม ค .ก.2012
21,600
10,500
9,600
1,500
เดือนสิงหาคม ค .ก.2012
30,600
15,900
12,600
2,100
47
เดือนกันยายน ค .ก.2012
25,200
12,900
10,700
1,700
เดือนตุลาคม ค .ก.2012
18,000
8,200
8,800
1,000
เดือนพฤกจิกายน ค .ก.2012
15,200
6,900
7,000
1,300
9,200
4,300
4,200
700
เดือนธันวาคม ค .ก.2012
จํานวนอาสาสมัครโดยประมาณตั้งแต่วันที่ 11-30 มีนาคม ค.ก. 2011
ที่มา : http://www.saigaivc.com/
全社協 被災地支援・災害ボランティア情報
48
บทที่ 4
วิเคราะห์
4.1 ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลกับกลุ่ม และโครงสร้างสังคมญีป่ ุ่น
ในส่วนของการวิเคราะห่นี้จะเริ่มที่ความแตกต่างของความเป็นปัจเจกของญี่ปุ่นกับของ
ตะวันตก โดยความหมายของคําแล้ว ปัจเจกชนในภากาญี่ปุ่นสามารถอธิบายได้ด้วยคํากัพท่สองคําคือ
「私的」กับ 「個人」โดยบางครั้งทําสองคํานี้สามารถใช้แทนกันได้ ซึ่งสองคํานี้หากแปลเป็น
ภากาอังกฤกจะตรงกับคําว่า Privacy ตามที่มิโตะ ทาดาชิได้อ้างอิงไว้ในหนังสือของตนเองว่าปัจเจกชน
คือการที่เป็นของคนใดคนหนึ่ง ตรงกันข้ามกับส่วนรวมซึ่งเป็นของคนทุกคน แต่ทั้งนี้โดยความหมาย
หรือวิธีการใช้นั้นมีขอบเขตที่แตกต่างกันระหว่างของญี่ปุ่นกับของตะวันตก กล่าวคือ แต่เดิม
แนวความคิดเกี่ยวกับปัจเจกกับส่วนรวมนี้เป็นแนวความคิดใหม่ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่กี่ร้อยปีก่อน ซึ่งแน่นอน
ว่าชาวตะวันตกเป็นผู้ริเริ่มแนวความคิดนี้ขึ้นมา โดยในปัจจุบันนี้ได้ให้คําอธิบายแก่ความเป็นปัจเจกชน
ว่าคือหน่วยบุคคลเพียงหน่วยเดียว แต่เมื่อแนวคิดนี้เข้ามาในญี่ปุ่นช่วงสมัยหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
หรือในต้นยุคเมจินั้นก็ได้เริ่มมีการนํามาใช้จนกลายเป็นกระแสหลักในสมัยโชวะ อย่างไรก็ตามด้วย
ความแตกต่างทางรากเหง้าของวัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมทางสังคมทําให้ความหมายของความเป็น
ปัจเจกกับส่วนรวมนั้นเกิดการเปลี่ยนแปลงที่มีลักกณะต่างจากของตะวันตก ซึ่งความเป็นปัจเจกใน
สังคมญี่ปุ่นนั่นไม่ได้หมายถึงเฉพาะตัวเอง แต่ครอบคลุมถึงบุคคลรอบข้าง ได้แก่ ครอบครัว ญาติพี่น้อง
หรือสามีภรรยา ทําให้แม้จะเรียกว่ามีความเป็นปัจเจกชนแต่ก็ยังคงเป็นปัจเจกที่คาบเกี่ยวกับสังคม
เพราะญี่ปุ่นนั้นให้ความสําคัญกับความเป็นกลุ่มมากกว่าเดี่ยว มองประโยชน่ส่วนรวมมาย่อมต้องมา
ก่อนประโยชน่ส่วนตน ทําให้แม้จะได้รับอิทธิพลแนวคิดมาจากตะวันตกก็ตาม แต่ก็ไม่สามารถนํามาใช้
ได้โดยปรากจากการปรับเปลี่ยนเนื่องจากบริบทที่แตกต่างกันและสังคมญี่ปุ่นเองก็ยากที่จะยอมรับความ
โดดเด่นของคนคนหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งความโดดเด่นที่แตกต่างหรือขัดแย้งกับกลุ่ม
สิ่งที่ตรงข้ามกับความเป็นปัจเจกคือความเป็นส่วนรวม ซึ่งในที่นี้จะให้นิยามของความเป็น
ส่วนรวมโดยยึดหลักตามที่มิโตะ ทาดาชิได้กล่าวถึงโดยในภากาอังกฤกจะใช้คําว่า Public ซึ่งหากแปล
เป็นภากาญี่ปุ่นแล้วจะตรงกับคําว่า 「公的」หมายถึงการเป็นของคนทุกคนหรือทุกคนเป็นเจ้าของ
ร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีอีกหนึ่งคําที่มีความหมายใกล้เคียงกันคือคําว่า 公共性 หรือ ความเป็นสาธารณะ
โดยคําแปลในพจนานุกรมไดจิริน )大辞林ของญี่ปุ่ (นนั้นหมายถึง คุณลักกณะที่รับผลกระทบทั้งด้านดี
49
และไม่ดีในสังคมระดับกว้าง ไม่มีการเจาะจงกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งแต่หมายถึงสังคมโดยรวมทั้งหมด ดังนั้น
หากกล่าวถึงความมีจิตสาธารณะซึ่งเป็นหนึ่งในกุญแจสําคัญของการค้นคว้าในครั้งนี้นั้น จะใช้
คําอธิบายที่อ้างอิงจากพจนานุกรมไทยราชบัณฑิตยสถาน ที่ได้ให้ความหมายว่า จิตสาธารณะนั้น
หมายถึง จิตสํานึกทางสังคมหรือจิตสํานึกทางสาธารณะ คือ การตระหนักรู้และคํานึงถึงส่วนรวม
ร่วมกัน หรือการคํานึงถึงผู้อื่นที่ร่วมสัมพันธ่เป็นกลุ่มเดียวกัน ซึ่งใกล้เคียงกับความหมายที่ปรากฏใน
พจนานุกรมภากาญี่ปุ่น ที่แปลว่า ความคิดที่ต้องการจะช่วยเหลือในสิ่งที่เป็นประโยชน่ของสาธารณะ
ในที่นี้หากจัดกลุ่มให้กับคุณลักกณะข้างต้นแล้วจะได้สองกลุ่มคือ กลุ่มแรกคือความเป็นปัจเจก
ความเป็นสาธารณะและจิตสํานึกต่อสาธารณะนั้นจะสามารถจัดให้อยู่กลุ่ม ,ส่วนความเป็นส่วนรวม
ประเภทเดียวกันได้ แต่ทั้งนี้คุณลักกณะทั้งสองกลุ่มของคนญี่ปุ่นนี้ไม่สามารถแยกออกจากกันได้
เนื่องจากความเป็นปัจเจกของคนญี่ปุ่นนั้นมีความเป็นเอกลักกณ่คือครอบคลุมความสัมพันธ่กับผู้คน
รอบข้างไว้ด้วยกัน ดังที่ได้ให้คํานิยามไว้ข้างต้น ดังนั้นคุณลักกณะของความเป็นปัจเจกส่วนหนึ่งจึง
เรียกได้ว่าทับซ้อนอยู่กับความเป็นส่วนรวม ดังกรณีตัวอย่างที่วาสึจิ เทะสึโร่ได้ยกตัวอย่างไว้คือ
ความสัมพันธ่ของสามีภรรยา ที่ก่อนแต่งงานจะเป็นเพียงความสัมพันธ่แบบบุคคลระหว่างชายหญิง
เท่านั้น แต่เมื่อผ่านการแต่งงานแล้วความสัมพันธ่แบบปัจเจกดังกล่าวจะกลายเป็นความสัมพันธ่แบบ
สาธารณะเนื่องจากมีการเปิดเผยให้สาธารณชนรับรู้และร่วมเป็นพยาน
ปัจเจกชน :
การ
ความสัมพันธ่ระหว่างชาย- แต่ง
หญิง
งาน
สาธารณะ :
ความสัมพันธ่ฉันท่
สามีภรรยา
ดังนั้นในส่วนนี้จึงสรุปได้ว่าคุณลักกณะทั้งหมดดังที่ได้กล่าวมานี้ ล้วนมีความสัมพันธ่หรือทับ
ซ้อนกันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ยากที่จะแยกออกจากกันได้โดยเฉพาะในสังคมญี่ปุ่นที่ให้ความสําคัญกับ
กลุ่มมากกว่าปัจเจกบุคคล
ในสังคมญี่ปุ่นนั้น ความเป็นกลุ่มที่เหนียวแน่นถือว่าเป็นเอกลักกณ่อันโดดเด่น ซึ่ง
กาสตราจารย่จิเอะ นากาเนะ นักมานุกยวิทยาชาวญี่ปุ่นได้ทําการวิเคราะห่เงื่อนไขในการสร้างกลุ่มของ
50
ชาวญี่ปุ่นโดยใช้หลักทฤกฎีของเรย่มอนด่ เฟิร่ท เกี่ยวกับการจัดระเบียบทางสังคมที่กล่าวไว้ว่าการ
จัดลําดับสมาชิกในสังคมตามลําดับขั้น ตําแหน่งหรืออาชีพตามความเชื่อหรือขนบธรรมเนียมนั้น
ก่อให้เกิดแบบแผนชี้นําพฤติกรรมของบุคคลให้ปฏิบัติหน้าที่ตามตําแหน่งของตน อีกทั้งตําแหน่งของ
คนนั้นจะทําหน้าที่ควบคุมให้คนปฏิบัติตามระบบหรือกลไกทางสังคมอีกทอดหนึ่ง
จิเอะได้ใช้ทฤกฎีนี้ประกอบการวิเคราะห่ ว่าสังคมญี่ปุ่นนั้นมีการให้ความสําคัญกับตําแหน่ง
หรือสถานะของบุคคลอย่างชัดเจน เพื่อให้แต่ละคนสามารถตามหน้าที่ของตนได้อย่างที่สังคมคาดหวัง
แต่ทั้งนี้เมื่อเชื่อมโยงกับความเป็นปัจเจกและส่วนรวมที่กล่าวว่าความเป็นปัจเจกหรือเดี่ยวนั้นไม่ได้รับ
การยอมรับเท่ากับความเป็นกลุ่มในสังคมญี่ปุ่น จึงทําให้แม้ว่าทุกคนจะมีความชัดเจนในหน้าที่หรือ
ตําแหน่งของตนแต่ก็ยังคงมีความคิดที่ว่าตําแหน่งของตนนั้นสังกัดอยู่กับหน่วยใดหรือกลุ่มใด และจะ
ให้ความสําคัญกับกลุ่มมากกว่าตนเอง ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดของประดิกฐ่ ประดิกฐานุวงก่ที่ได้กล่าว
ไว้ในงานเขียนของเขาว่าคนญี่ปุ่นนั้นจะดําเนินชีวิตตามแบบแผนหลายแบบแผนเพราะแต่ละคนมีสังกัด
หลายกลุ่มซึ่งแบบแผนของกลุ่มหรือฐานะของสมาชิกกลุ่มดังกล่าวจะบดบังความเป็นตัวตนของบุคคล
ไว้
ในสังคมญี่ปุ่นนั้นนอกจากระบบการจัดรูปแบบสังคมตามตําแหน่งและการมองตัวเองในฐานะ
สมาชิกกลุ่มแล้ว ยังมีอีกปัจจัยหนึ่งที่ช่วยให้ระบบสังคมมีความเป็นเอกเทกและมั่นคงคือ ความสัมพันธ่
ระหว่างบุคคลภายในองค่กรหรือโครงสร้างภายใน เรียกว่าโครงสร้างรูปแบบกับดักปลาหมึกหรือทา
โกะสึโบะ ซึ่งผู้ที่นําเสนอความคิดนี้ขึ้นมาคือมารุยามะ มาซาโอะโดยโครงสร้างจะมีลักกณะเป็น
ทรงกระบอกแนวยาวเช่นเดียวกันกับสังคมภายในบริกัทที่มีการกําหนดลําดับชั้นตามตําแหน่งหน้าที่
ชัดเจน โดยแนวคิดนี้เป็นของมารุยามะ มาซาโอะ นักวิชาการชาวญี่ปุ่นที่อธิบายสังคมทาโกะสึโบะไว้
ว่าเป็นโครงสร้างที่ปรากฏอยู่ในหลายสังคมของญี่ปุ่นไม่ว่าจะเป็นในด้านวิชาการ วัฒนธรรมหรือด้าน
อื่นๆ คุณสมบัติของสังคมทาโกะสึโบะนี้นอกจากจะกําหนดลําดับชั้นแล้วด้วยความที่มีรูปทรงเป็น
แนวตั้งทําให้คนที่อยู่ภายในยากต่อการเคลื่อนย้ายหรือหนีออกจากกรอบได้
จากทฤกฎีดังกล่าว ผู้วิจัยวิเคราะห่ว่าสําหรับสังคมภายในซึ่งมีโครงสร้างทาโกะสึโบะเป็นตัว
ควบคุมให้พนักงานแต่ละคนจดจ่ออยู่กับหน้าที่ของตนเองและพึงปฏิบัติตามหน้าที่ของตนตามที่ถูก
กําหนดไว้ ซึ่งหากว่าบุคคลใดหรือส่วนใดของโครงสร้างทําการขยับหรือพยายามดีดตัวเองออกจาก
กรอบ ก็จะส่งผลให้ทั้งรูปแบบและความเป็นอุจิหรือพวกพ้องนั้นเกิดความสบสันและพังทลายลงได้
ข้างต้น คือการมองและวิเคราะห่จากสภาพภายในองค่กร แต่ถ้าเราใช้ทาโกะสึโบะเป็น
สัญลักกณ่แทนบริกัทหนึ่งบริกัท เราก็จะมองว่าหนึ่งบริกัทนั้นมีค่าเท่ากับกลุ่มหนึ่งกลุ่ม ซึ่งในสังคมที่
51
ประกอบไปด้วยหลายบริกัทก็จะเท่ากับว่ามีหลายกลุ่มหลายทาโกะสึโบะ และแต่ละกลุม่ จําเป็นต้องมี
การติดต่อสัมพันธ่กันไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง โดยแนวทางที่กลุ่มหนึ่งปฏิบัติต่ออีกกลุ่มหนึ่งนั้นจะถือว่า
กลุ่มของตนคืออุจิ ที่ทุกคนภายในบริกัทไม่ว่าตําแหน่งใดก็ตามจะรวมกันเป็นหนึ่งหน่วยเพื่อช่วยกัน
รักกาผลประโยชน่ของกลุ่ม แล้วมองว่ากลุ่มที่เข้ามามีปฏิสัมพันธ่ด้วยนั้นคือโซโตะหรือบุคคลภายนอก
ความเป็นอุจิกับโซโตะนี้ในแง่ของปัจเจกบุคคลอาจมีความซับซ้อนและต้องใช้พื้นที่พอสมควร
ในการอธิบาย แต่ในที่นี้จากตัวอย่างของความสัมพันธ่ในบริกัทที่ได้ยกไปนั้น ผู้วิเคราะห่ต้องการจะ
เชื่อมโยงแนวคิดกับสภาพสังคมญี่ปุ่น กล่าวคือในงานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิเคราะห่ต้องการเสนอมุมมองที่ว่าให้
สังคมญี่ปุ่นเป็นกลุ่มหนึ่งกลุ่มหรือเท่ากับหนึ่งทาโกะสึโบะซึ่งในยุคเก่าจะจัดระบบสังคมโดยเรียงตาม
กักดินา ทั้งนี้แม้ว่าระบบกักดินาจะล่มสลายไปพร้อมๆ กับการเปลี่ยนรูปแบบการบริหารประเทกก็ตาม
ความเป็นสังคมทาโกะสึโบะก็คงยังอยู่ เพียงแต่ว่ามีการปรับเปลี่ยนให้การจัดโครงสร้างนั้นเป็นไป
ขึ้นอยู่กับตําแหน่งของสมาชิกในสังคมตามหลักการจัดระบบอย่างที่กาสตราจารย่จิเอะได้กล่าวไว้ เป็น
สังคมที่มีระบบการจัดการภายในหรืออุจิโดยมีทฤกฎีสังคมทาโกะสึโบะของมารุยามะเข้ามาเป็นตัว
ควบคุมสมาชิกสังคมไว้ให้ปฏิบัติตามกรอบ ซึ่งในการติดต่อกับประเทกอื่นญี่ปุ่นก็จะใช้หลักการ
เดียวกันคือมองว่าทั้งประเทกญี่ปุ่นคือพวกพ้องกลุ่มเดียวกัน ที่ต้องเกาะตัวรวมกันไว้และมอง (อุจ)ิ
ประเทกอื่นว่าเป็นคนนอกหรือโซโตะ
โครงสร้างแบบทาโกะสึโบะนี้ไม่จํากัดเฉพาะสังคมวงกว้างเท่านั้น แต่ในทาโกะสึโบะที่ชื่อ
ญี่ปุ่น สามารถมีทาโกะสึโบะย่อยได้อีกหลายอันตามที่มารุยามะ มาซาโอะได้กล่าวไว้ว่า โครงสร้างนี้
ใช้ได้ในหลายสังคมด้วยกันรวมถึงในด้านวัฒนธรรมด้วย ดังนั้นผู้วิจัยจึงมองว่าวัฒนธรรมหรือมรดก
ทางความคิดหลายๆ อย่างของญี่ปุ่นรวมถึงความมีจิตสาธารณะที่สามารถสืบทอดต่อเนื่องกันมาได้
จนถึงปัจจุบัน ส่วนหนึ่งน่าจะเพราะว่าถูกโครงสร้างทาโกะสึโบะครอบไว้ให้คนอยู่ภายในกรอบ
ความคิดที่ถูกกําหนดขึ้นมาตั้งแต่อดีต แม้จะมีความเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยในเรื่องของรายละเอียดตามยุค
สมัย แต่กรอบความคิดโดยรวมยังคงสืบทอดมาได้อย่างมั่นคง และเพื่อรักกาโครงสร้างสังคมและ
พื้นฐานทางความคิดที่อิงอยู่กับวัฒนธรรมนี้ไว้ จําเป็นต้องมีวิธีการเพาะเมล็ดพันธุ่ความคิดนี้ให้เติบโต
ขึ้นในสังคมญี่ปุ่นตลอดเวลา ซึ่งก็คือการปลูกฝังความคิดเพื่อส่วนรวมให้กับเด็กนับตั้งแต่วัยเรียน
การวิเคราะห่ในส่วนนี้ ผู้วิจัยได้ใช้วิธีการวิเคราะห่โดยอ้างอิงแนวคิดทางสังคมวิทยาว่าการ
วิเคราะห่ระบบสังคมสํานักโรงสร้าง-หน้าที่นิยมกับทฤกฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ
โดยทั่วไปนั้น สังคมจะประกอบด้วยส่วนย่อยต่างๆ ที่ทํางานเชื่อมโยงสัมพันธ่กันการขัดเกลา
ทางสังคมถูกพิจารณาว่าเป็นกลไกเชิงสถาบันที่ก่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างสถาบันกับกลุ่มสังคม
52
ขนาดใหญ่และระหว่างสถาบันสังคมกับปัจเจก การขัดเกลาทางสังคมจึงหมายถึงกระบวนการของการ
ถ่ายทอดวัฒนธรรมจากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่งซึ่งเป็นกระบวนการถ่ายทอด-ส่งผ่าน กฎเกณฑ่
ค่านิยม บรรทัดฐานทางสังคมให้กับสมาชิกในสังคมแบบทางเดียว )One-way Influence Processที่มี (
โดยผ่านหน่วยทางสังคมต่างๆ ลักกณะค่อนข้างแน่นอนตายตัวภายใต้บริบทเชิงโครงสร้างและ
ความสัมพันธ่ทางสังคมภายใน กลไกของการขัดเกลาทางสังคมจะทําการบ่มเพาะหล่อหลอมปัจเจกใน
ฐานะสมาชิกใหม่ ของสังคมให้เรียนรู้กฎเกณฑ่ (โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน) ค่านิยม บรรทัดฐานทาง
สังคมต่างๆ ตลอดจนข้อตกลงร่วมอื่นๆ ที่จําเป็นต่อการแสดงพฤติกรรมบทบาททางสังคมอย่างต่อเนื่อง
จนปัจเจกซึมซับเข้าสู่ภายในตัวตน )Internalizedของพวกเขา กระทั่งกลายเป็นส่วนหนึ่งของการ (
ดําเนินชีวิตทางสังคมของพวกเขาอย่างเป็นปกติธรรมดา จามะรี เชี)ยงทอง และคณะ : 2548(
ส่วนทฤกฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพนั้น มีนักคิดที่โดดเด่นสองคนคือรูท เบเนดิกต่)Ruth
Benedict)และมาร่กาเร็ต มีท (Margaret Mead (
วัฒนธรรมเป็นพฤติกรรมที่คนสร้างขึ้นมาจากความคิดของตนเพื่อตอบสนองความต้องการ
พื้นฐานของตน ถ้าคนส่วนใหญ่คิดในสิ่งเดียวกันหรือยอมรับพฤติกรรมแบบเดียวกันไปประพฤติปฏิบัติ
พฤติกรรมนั้นก็จะกลายเป็นวัฒนธรรมของสังคมไป องค่ประกอบของวัฒนธรรมแบ่งออกได้เป็นสอง
ด้าน ด้นหนึ่งเป็นนามธรรมที่ผลักดันพฤติกรรมของบุคคล ได้แก่ บุคลิกภาพของบุคคล ซึ่งประกอบด้วย
ค่านิยม ทักนคติ ความคิดเห็น ความเชื่อ โลกทักน่ อุดมการณ่ และอุดมคติ ภาพพจน่ แบบฉบับ
)Stereotype) และลักกณาการ (Traits( ซึ่งบุคลิกภาพของบุคคลจะเป็นเช่นไรขึ้นอยู่กับการได้รับการ
ปลูกฝังอบรมมาแต่เยาว่วัยอย่างไร )Mead 1927 และ 1928( ในการวิเคราะห่พฤติกรรมของคนอาจ
จําเป็นต้องใช้ทฤกฎีจิตวิทยาของ Freud เป็นพื้นฐาน Mead )1930ได้ (กล่าวว่า บุคคลจะมีบุคลิกภาพเช่น
ไรขึ้นอยู่กับการเลี้ยงดูและอบรมในวัยเด็ก และถ้าเด็กได้รับการเลี้ยงดูฝึกฝนมาในในแนวเดียวกันหมดก็
จะมีบุคลิกภาพเหมือนๆ กัน ดังจะเห็นตัวอย่างได้ชัดเจนจากการอบรมเลี้ยงดูเด็กของคนญี่ปุ่น ชาวญี่ปุ่น
ค่อนข้างเข้มงวดมากในการบังคับเด็กเล็ก โดยเฉพาะในเรื่องของการขับถ่าย )Toilet Trainingเด็กญี่ปุ่น (
วรรณกิริ(ผลวัฒนะ) นิยพรรณ) จึงโตขึ้นมาเป็นผู้ใหญ่ที่มีระเบียบวินัยทั่วกัน: 2550(
ความแตกต่างระหว่างเบเนดิกต่กับมีทคือ เบเนดิกต่จะเน้นให้ความสําคัญกับวัฒนธรรมและ
บุคลิกภาพส่วนรวมหรือวัฒนธรรมประจําชาติ แต่มีทจะมุ่งความสนใจไปที่พฤติกรรมส่วนบุคคล การ
ฝึกฝนคน การอบรมเลี้ยงดูคนในวัยเด็กมากกว่า ดังนั้นผู้วิจัยจึงเลือกให้ความสําคัญกับแนวคิดของมีท
เป็นหลักในการวิเคราะห่ครั้งนี้ เนื่องจากสอดคล้องกับบริบทและมีความเชื่อมโยงกับแนวคิด
โครงสร้าง-หน้าที่นิยมมากกว่า ซึ่งสองแนวคิดนี้สรุปใจความได้ว่า การขัดเกลาทางสังคมหรือการ
53
ถ่ายทอดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับค่านิยมของสังคมนั้นๆ จากรุ่นสู่รุ่นเพื่อให้แนวทางการปฏิบัติตัวเป็นไป
ในทิกทางที่สอดคล้องกัน โดยการขัดเกลาหรือหล่อหลอมนี้จะมีประสิทธิภาพขั้นสูงก็ต่อเมื่อทําการ
ปลูกฝังค่านิยมหรือความคิดเหล่านี้ให้กับเด็กตั้งแต่เยาว่วัย ซึ่งการฝึกฝนเรื่องการขับถ่ายให้แก่เด็กของ
ชาวญี่ปุ่นก็เป็นตัวอย่างที่ดีที่มีทได้ยกขึ้นมาประกอบการอธิบาย
ในที่นี้ ผู้วิจัยได้ใช้ตัวอย่างจากชั่วโมงการเรียนการสอนวิชากีลธรรม ในระดับมัธยมกึกกา
ตอนต้นสองโรงเรียนด้วยกันคือ โรงเรียนมัธยมต้นชิรายามะได เขตฮาจิโนะเฮ จอาโอโมริ. กับโรงเรียน
มัธยมต้นคิโนะคาวะ จ วาคายามะ .ซึ่งทั้งสองโรงเรียนได้บรรจุกิจกรรมมากมายทั้งเนื้อหาการเรียน
ภายในห้องเรียนและกิจกรรมนอกห้องเรียน ดังตัวอย่างที่แสดงด้านล่างนี้
ตัวอย่างกิจกรรมสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมกึกกาปีที่ 1 ห้อง 5
วันที่ 28 ตุลาคม ค .ก.2009
โรงเรียนมัธยมต้นคิชินกาวะ )紀之川วากายามะ .จ (
กิจกรรมการเรียนรู้
ทบทวนการใช้
ชีวิตประจําวันที่ผ่านมา
การตั้งคาถามและคาตอบที่คาดว่าจะได้รับ
คําถาม – ถ้าคุณกําลังนั่งอยู่บนรถไฟ ซึ่ง
ตรงหน้ามีคนชรายืนอยู่ คุณจะทําอย่างไร
คําตอบที่คาดว่าจะได้รับ –
1. อยากเสียสละที่นั่งให้ แต่ไม่กล้าพูด
2. แกล้งทําเป็นไม่รู้แล้วนั่งต่อไป
3. ไม่สละที่นั่งให้เพราะเขินอาย จึงนั่ง
ตรงนั้นต่อไป
4. รวบรวมความกล้าแล้วสละที่นั่งให้
หมายเหตุ
1. ให้นักเรียนแสดงความ
คิดเห็นอย่างอิสระ
2. แม้จะทราบว่าการ
เสียสละเป็นการกระทําที่ดีแต่ก็
ควรให้นักเรียนได้เรียนรู้ว่า
บางครั้งการกระทํานั้นก็ทําได้
ยาก
54
การสอดแทรกกีลธรรมในวิชาเรียนพร้อมกับปฏิบัติให้เห็นเป็นตัวอย่างในชีวิตจริง ทําให้เด็ก
ญี่ปุ่นเกิดการซึมซับและนําไปใช้ได้อย่างเป็นธรรมชาติ อีกทั้งโครงสร้างทาโกะสึโบะที่ควบคุมและตี
กรอบให้เด็กเจริญรอยตามผู้ใหญ่ในสังคมนั้นก็เป็นเครื่องมือชั้นดีที่ช่วยประคับประคองให้รูปแบบ
ความคิดนี้สามารถฝังรากอยู่ได้ต่อไป
4.2 คนญี่ปุ่นกับจิตสาธารณะในเหตุการณ์แผ่นดินไหว ค .ศ.2011
ตามหลักทฤกฎีโครงสร้างและหน้าที่นิยมได้กล่าวไว้ว่า นักมานุกยวิทยารุ่นเก่ามักใช้วิธีสืบ
ย้อนทางประวัติกาสตร่ในการกึกกาพฤติกรรมของมนุกย่ แต่ช่วงกลางของกตวรรกที่ 20 ได้เกิดแนวคิด
ใหม่ๆ ขึ้นมามาก มีการแตกแขนงความรู้วิชาการทางด้านสังคมกาสตร่ซึ่งหนึ่งในนั้นคือแนวทางใหม่ใน
การกึกกาพฤติกรรมของคนในสังคมในรูปแบบบูรณาการ โดยจะต้องกึกกาโครงสร้างของสังคมทุกๆ
โครงสร้างไปพร้อมๆ กันเพื่อให้เกิดความสัมพันธ่กัน จึงจะสามารถเข้าใจสังคมหนึ่งๆ ได้อย่างถ่องแท้
เพราะว่าสังคมหนึ่งๆ ประกอบขึ้นด้วยโครงสร้างหลายโครงสร้าง และแต่ละโครงสร้างจะทําหน้าที่
ประสานสัมพันธ่กัน ถ้าขาดโครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งสังคมก็จะล่มสลาย หรือหากโครงสร้างใด
โครงสร้างหนึ่งเสื่อมสลายลงก็จะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างอื่นเป็นลูกโซ่ สุดท้ายจะทําให้สังคมนั้น
เสื่อมหรือล่มสลายลงไป
ดังนั้น การกึกกาพฤติกรรมของคนในสังคมเชิงความสัมพันธ่ของหน้าที่ตามโครงสร้างของสังคม
โดย อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ นี้ในทางวิชาการมานุกยวิทยาเรียกว่า ‚Holistics‛ ซึ่งเป็นการมองสังคม
ทีเดียวทุกโครงสร้างเพื่อความเข้าใจสังคมทั้งสังคม อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ เชื่อว่า การกึกกาเฉพาะ
โครงสร้างใดโครงสร้างหนึ่งเพียงโครงสร้างเดียวไม่สามารถจะเข้าใจโครงสร้างนั้นๆ ได้ เช่น ถ้าจะ
กึกกาโครสร้างทางการปกครองของสังคมก็ต้องกึกการะบบค่านิยมเกรกฐกิจ กาสนา การกึกกา
ครอบครัว และเครือญาติของสังคมด้วย4
ในการกึกกาครั้งนี้ เป็นการกึกกาพฤติกรรมของคนญี่ปุ่นซึ่งจัดเป็นการกึกกาพฤติกรรมของคนใน
สังคมหนึ่งตามทฤกฎีของ อัลเฟรด แร็ดคลิฟ-บราวน่ โดยผู้กึกกาจะทําการวิเคราะห่จากกรณีกึกกาคือ
เหตุการณ่แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิที่เกิดขึ้นในภูมิภาคโทโฮคุของญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 11 มีนาคม ค .ก.
2011 ซึ่งจะวิเคราะห่จากโครงสร้างสังคมสองด้านคือ ระบบทาโกะสึโบะ แนวความคิดอุจิ-โซโตะกับกิ
ริ-นินโจ รวมถึงทฤกฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพที่มีส่วนในการกําหนดพฤติกรรมของบุคคล
4
นิยพรรณ (ผลวัฒนะ) วรรณกิริ, มานุกยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : เอ๊กซ่เปอร่เน็ท, 2550. 312 หน้า
55
ดังตัวอย่างเหตุการณ่ที่ได้นําเสนอไว้ก่อนหน้านี้โดยอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลหลายแห่ง ยกตัวอย่าง
เช่น การยกตัวอย่างของกาตราจารย่ ดรปรียา อิงคาภิรมณ่ ที่บอกเล่าเรื่องราวของโคโนะ .-เจ้าหน้าที่
ปฏิบัติการที่โรงไฟฟ้าฟุคุชิมะ ไอดิจิ กรณีตัวอย่างของเด็กชายที่หยิบสินค้าจากร้านที่ได้รับความเสียหาย
แล้วชําระเงินตามราคาอย่างถูกต้อง ทั้งๆ ที่หากหยิบออกไปโดยที่ไม่มีใครสังเกตก็อาจทําได้ หรือจะ
เป็นตัวอย่างของทางโรงแรมที่เปิดให้ผู้คนเข้าไปพักชั่วคราวได้ที่ล็อบบี้ การแสดงน้ําใจหรือความเอื้อ
อาทรเหล่านี้กาสตราจารย่ ดร ปรียา กล่าวว่าเป็นเพราะความรู้สึกเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันหรือ .‘นิน
โจ’ ซึ่งในส่วนนี้ผู้วิจัยวิเคราะห่ว่าองค่ประกอบที่ช่วยให้คนญี่ปุ่นสามารถรักกาความกลมเกลียวไว้ได้
นั้นเกี่ยวข้องกับจิตสํานึกในความเป็นกลุ่มและอุจิ
ในสถานการณ่ปกติ ดังที่ได้กล่าวไปเมื่อข้างต้นว่าคนญี่ปุ่นล้วนแล้วแต่ยึดติดอยู่กับกลุ่มอย่างน้อย
หนึ่งกลุ่ม และคนจํานวนไม่น้อยได้สังกัดอยู่กับกลุ่มหลายกลุ่มในเวลาเดียวกัน ซึ่งไม่ว่าจะอยู่ในกลุ่มใด
หรือบทบาทใด หน้าที่หนึ่งก็คือการรักกาผลประโยชน่และพวกพ้องในกลุ่มเป็นหลัก หรือตามทฤกฎี
อาจกล่าวได้ว่าเป็นสมาชิกในสังคมทาโกะสึโบะหนึ่งๆ แต่เมื่อเกิดเหตุการณ่แผ่นดินไหวครั้งใหญ่ขึ้น
ในปี ค .ก.2011 สมาชิกในสังคมไม่ว่าแต่เดิมตนจะสังกัดอยู่กับกลุ่มหรือหน่วยใดก็ตาม ก็จะแปลสภาพ
จากกลุ่มย่อยมาเป็นสมาชิกกลุ่มทาโกะสึโบะใหญ่หรือประเทก จากที่เคยทําหน้าที่เพื่อสนองตอบสังกัด
เดิม ก็จะหันมามองตนเองในฐานะสมาชิกหรือพลเมืองของชาติที่ต้องช่วยกันซึ่งกันและกันเพื่อรักกา
ประเทกญี่ปุ่นหรือทาโกะสึโบะใหญ่นี้ไว้
อีกแนวคิดที่เป็นปัจจัยเสริมคือการมองว่าตนเองและเพื่อนร่วมชาติทุกคนเป็นพวกพ้องเดียวกัน
หรืออุจิ ความคิดนี้จะคล้ายหรือแทบจะเป็นอันหนึ่งกันเดียวกันกับความคิดเรื่องกลุ่ม กล่าวคือหากกลุ่ม
เป็นเสมือนการเห็นแก่พวกพ้องเป็นสําคัญ อุจิก็คือการปฏิบัติต่อเพื่อนร่วมชาติเพราะถือว่าเป็นคนที่อยู่
ภายในประเทกเดียวกัน โดยอากัยอารมณ่ความรู้สึกหรือนินโจเป็นแรงบันดาลใจในการปฏิบัติต่อผู้คน
รอบข้าง และมีกิริหรือหน้าที่ที่พึงปฏิบัติต่อสังคมเป็นแรงผลักดันให้เกิดการกระทํา
จากเหตุการณ่แผ่นดินไหวที่ได้สร้างความเสียหายอันใหญ่หลวงแก่ชาวญี่ปุ่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่
อากัยอยู่ในบริเวณพื้นที่ประสบภัยนั้น นอกจากจะสร้างความสะเทือนใจให้แก่ชาวโลกแล้ว อีกด้านหนึ่ง
ยังสร้างความรู้สึกประทับใจและชื่นชมในความอดทนและมั่นคงของชาวญี่ปุ่น ในการปฏิบัติตัวหลัง
เกิดเหตุการณ่ขึ้น ดังที่ได้ปรากฏในสื่อหลายประเภทที่แสดงภาพพร้อมทั้งบอกเล่าถึงเหตุการณ่ต่างๆ
เช่น การต่อแถวซื้อของอย่างเป็นระเบียบแม้จะต้องใช้เวลาในการยืนรอท่ามกลางความหนาวเป็น
เวลานาน หรือแม้แต่รถที่รอเติมน้ํามันที่สถานีบริการก็ยังจอดเรียงกันอย่างเป็นระเบียบ และที่สําคัญคือ
การเดินทางเข้าไปให้ความช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องโดยกลุ่มอาสาสมัครในเขตจังหวัดมิยางิ อิวาเตะ และ
56
ฟุคุชิมะ ซึ่งตามสถิติที่ได้บักทึกไว้ตั้งแต่เดือนมีนาคม ค .ก.2011 ถึงเดือนธันวาคม ค .ก.2012 มีจํานวน
อาสาสมัครรวมทั้งสิ้น 1,166,800 คน เป็นจํานวนอาสาสมัครโดยประมาณที่เข้าร่วมกิจกรรมผ่านกูนย่
อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัยซึ่งจัดตั้งขึ้นโดยหน่วยงานของเทกบาลในแต่ละท้องที่ ซึ่งนอกจาก
จํานวนที่แสดงด้านล่างนี้ยังมีกลุ่มอาสาสมัครอีกจํานวนมากที่ทํางานภายใต้องค่กรอิสระ )NPOหรือ (
หน่วยงานอื่นๆ
จากบันทึกหลังการเข้าร่วมกิจกรรมอาสาสมัครนั้น ไม่ว่าจะเป็นกรณีของวาดะ อากิโกะอานาเอะ ,
เทรุโอะ หรือกลุ่มอาสาสมัครอื่นๆ ที่มีความพยายามจะเดินทางไปช่วยเหลือแม้จะเป็นเพียงเรื่อง
ของผู้เล็กๆน้อยๆ ก็ตาม ขอเพียงตนสามารถอะไรเพื่อสังคมได้บ้างเท่านั้น หรืออย่างเช่นในบันทึก
ประสานงานกูนย่อาสาสมัครช่วยเหลือผู้ประสบภัย เขตนาโทริ จังหวัดมิยางิ ที่เล่าถึงความพยายามของ
เด็กมัธยมที่ลงแรงปั่นจักรยานไปกลับเป็นระยะทางไกลเพื่อมาช่วยกิจกรรมของกูนย่ฯ ทุกวัน รวมถึง
กลุ่มหนุ่มสาวที่พยายามต่อรองให้ตนสามารถทํางานช่วยเหลือได้มากกว่าที่ทางกูนย่ฯ หรือเจ้าหน้าที่เขต
ระบุไว้
ทางด้านฝ่ายชาวเมืองที่อยู่ในเขตประสบภัยนั้นก็มีปฏิกิริยาสนองตอบต่อความช่วยเหลือนี้เช่นกัน
เห็นได้จากบันทึกของยูมิโกะ ซาโต้ ชาวเมืองอิวาเตะ ที่อยากให้เจ้าหน้าที่ที่เข้ามาช่วยเหลือกับกลุ่ม
อาสาสมัครได้ใช้ห้องน้ําที่สะอาด ซาโต้จึงตื่นแต่เช้าทุกวันเพื่อมาทําความสะอาดห้องน้ําส่วนรวมที่
กาลาประชาคม และในเว็บไซด่ที่ซาโต้ได้เขียนข้อความลงไปนั้น ยังมีการกล่าวแสดงความขอบคุณใน
น้ําใจของทุกคน โดยในส่วนของซาโต้เองนั้นก็พยายามรวมกลุ่มสตรีโดยเฉพาะผู้สูงวัย แล้วสอนการ
ประดิกฐ่สิ่งของต่างๆ เพื่อเป็นการถ่ายทอดความรู้ให้แก่ทุกคน
พฤติกรรมต่างๆ ของคนในกลุ่มนี้ผู้วิจัยวิเคราะห่ได้ว่าเป็นการกระทําที่อิงอยู่กับแนวความคิดเรื่อง
-กิริกับนินโจ- อีกเช่นกัน บรรดาอาสาสมัครต้องการให้ความช่วยเหลือเพราะมีความรู้สึกเห็นใจใน
ความยากลําบากและความสูญเสียของผู้คน พร้อมๆ กับมีความรู้สึกว่าตนเองต้องการเป็นส่วนหนึ่งใน
การฟื้นฟูหรือช่วยเหลือสังคมซึ่งการเดินทางไปให้ความช่วยเหลือยังพื้นที่ประสบภัยนั้นคือเวลาที่
เหมาะสมที่ตนจะได้ทําหน้าสมาชิกที่ดีของสังคม หรือตัวอย่างความเสียสละของโคโนะ ที่อาสาเข้าไป
ปฏิบัติหน้าที่ที่มีความเสี่ยงสูงซึ่งโดยการกระทําสามารถอธิบายได้ว่าเป็นเพราะกิริส่วนแรงจูงใจอาจมี
นินโจเข้ามาเป็นตัวชี้นํา เพราะการที่เจ้าหน้าที่โคโนะเลือกที่จะเดินทางไปปฏิบัติหน้าที่นั้น ส่วนหนึ่ง
ของแรงจูงใจคือเขาคํานึงถึงพวกพ้องที่ร่วมทํางานด้วยกันมา ส่วนพ่อแม่ของโคโนะนั้นทําใจยอมรับว่า
สิ่งที่ลูกจะต้องไปทํานั้นเป็นหน้าที่หนึ่งในฐานะสมาชิกสังคมที่พึงปฏิบัติต่อหน่วยงานและเพื่อ
ช่วยเหลือชาติ
57
ในขณะที่ถ้าหากวิเคราะห่จากปัจจัยทางด้านโครงสร้างสังคม ผู้วิจัยมองว่าการให้ความช่วยเหลือ
ของอาสาสมัครนั้นเป็นส่วนหนึ่งของกลไกในการรักการะบบโดยรวมเอาไว้ เพราะโทโฮคุคือส่วนหนึ่ง
ของประเทกญี่ปุ่นที่คนญี่ปุ่นเองแม้ว่าจะไม่ใช่คนในพื้นที่ก็ต้องช่วยกันฟื้นฟูเยียวยาให้กลับมามีสภาพ
ดังเดิม เปรียบเสมือนกับการรักกาทาโกะสึโบะอันใหญ่เอาไว้เพราะตราบใดที่ยังมีทาโกะสึโบะหลักซึ่ง
ก็คือชาติที่มั่นคง สังคมเล็กๆ หรือทาโกะสึโบะย่อยก็จะสามารถดํารงอยู่ต่อไปได้ หรือถ้าจะมองในด้าน
โครงสร้างสังคมเหมือนกันแต่ในอีกมุมมองหนึ่ง คือระบบความเป็นทาโกะสึโบะหรือกับดักปลาหมึกนี้
เป็นดังกรอบที่จํากัดสมาชิกสังคมเอาไว้ทั้งด้านความคิดและแนวทางของพฤติกรรม ตั้งแต่จัดให้มีการ
เรียนการสอนกีลธรรมในโรงเรียน การจัดโครงสร้างของกลุ่มการทํางาน หรือการมีปฏิสัมพันธ่ระหว่าง
บุคคลในชีวิตประจําวันล้วนแล้วแต่มีเงาของทาโกะสึโบะครอบคลุมไว้ทั้งสิ้น ดังนั้นพฤติกรรมต่างๆ
อาจกล่าวได้ว่าเป็นไปตามแนวทางหนึ่งที่ถูกกําหนดไว้แล้วโดยโครงสร้างสังคมรูปแบบนี้ก็เป็นได้
การเข้าแถวรอซื้อของหรือการปฏิบัติตัวของผู้ที่อยู่ในพื้นที่ประสบภัยนั้น อาจไม่ใช่ความเสียสละ
แต่เป็นการรักกาความเป็นระเบียบของสังคมไว้ ตามแนวทางหนึ่งของระบบสังคมทาโกะสึโบะที่
กําหนดขอบเขตในการวางตัวรวมถึงความประพฤติของผู้คนให้อยู่ในกรอบ ซึ่งหากว่าแต่ละคนต่างเกิด
ความตระหนกและตกอยู่ในสภาวะที่ไร้การควบคุม ไม่นึกถึงกฎเกณฑ่ของสังคมดังที่ได้ปฏิบัติมา ก็จะ
ก่อให้เกิดความยุ่งเหยิง นอกจากความเสียหายจากภัยพิบัติแล้วหากคนยังละเลยที่จะใส่ใจในความ
ประพฤติ ก็จะยิ่งเป็นเหมือนการซ้ําเติมให้เหตุการณ่ที่เลวร้ายนั้นตกอยู่ในความลําบากซ้ําซ้อนเข้าไปอีก
ในตอนนั้น ไม่ว่าจะมีการให้ความช่วยเหลือจากรัฐหรือบุคคลภายนอกมากเท่าไหร่ การฟื้นฟูหรือความ
ช่วยเหลือต่างๆ ก็จะไม่ประสบผลเท่าที่ควรหรือเกิดความล่าช้ามากกว่าที่ควรจะเป็น
แนวความคิดต่างๆ ที่ปรากฏข้างต้นไม่ว่าจะเป็นเรื่องของอุจิ-โซโตะ กลุ่มนิยม กิร-ิ นินโจ หรือ
แม้แต่กรอบโครงสร้างทาโกะสึโบะนี้ ล้วนเป็นสิ่งที่เข้าไปมีบทบาทแทบจะทุกด้านของชาวญี่ปุ่น
รวมถึงเป็นปัจจัยหนึ่งในการกําหนดพฤติกรรมโดยรวมของสังคม เรียกได้ว่าสังคมญี่ปุ่นสามารถคงอยู่
ได้ด้วยการพึ่งพิงความคิดเหล่านี้ ไม่ว่าจะผ่านไปกี่รุ่นกี่สมัยแนวคิดนี้ก็ยังคงสืบต่อกันมาได้ด้วยการ
ถ่ายทอดและปลูกฝังภายในครอบครัว ในสถานกึกกา และการได้สัมผัสจริงในสังคม โดยเฉพาะใน
โรงเรียนที่ให้การสนับสนุนโดยการกําหนดให้เป็นวิชาเรียน ให้นักเรียนได้คิดและปฏิบัติจริงจน
กลายเป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกภาพ ตามทฤกฎีของมาร่กาเร็ต มีท และผลของการบ่มเพาะนิสัยและ
ความคิดเหล่านี้ก็ปรากฏขึ้นอย่างชัดเจนในยามที่มีเหตุการณ่ไม่คาดฝันเกิดขึ้นดังเช่นเหตุการณ่
แผ่นดินไหวในปี ค .ก.2011
58
บทที่ 5 สรุปผลการศึกษา
จากคําถามในการกึกกาที่ตั้งเป็นสมมติฐานในตอนต้นว่า การให้ความช่วยเหลือและการปฏิบัติ
ตัวในลักกณะที่เอื้อเฟื้อต่อผู้อื่นของชาวญี่ปุ่นในช่วงเหตุการณ่แผ่นดินไหว ปี ค.ก. 2011 เป็นเพราะ
จิตสํานึกต่อความเป็นสาธารณะของตัวบุคคล ได้ผลจากการกึกกาและวิเคราะห่โดยใช้ทฤกฎีประกอบ
ว่ามีความเป็นไปได้หรือถูกต้องส่วนหนึ่ง เนื่องจากการที่คนญี่ปุ่นให้ความช่วยเหลือเพื่อนร่วมชาติใน
รูปแบบต่างๆ นั้นเกิดจากความรู้สึกเอื้ออาทร ความเห็นใจที่มีต่อกันและกันโดยเฉพาะต่อผู้ประสบภัย
นั้นเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลเรียกว่า นินโจ (人情) แต่ทั้งนี้ ดังที่ได้กล่าวถึงในส่วนของการวิเคราห่
ว่านินโจหรือความรู้สึกเห็นอกเห็นใจกันนั้นเป็นเหมือนแรงผลักดันภายใน หรือแรงบันดาลใจที่จะริเริ่ม
ทํากิจกรรมอย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งสิ่งที่ช่วยผลักดันอีกต่อหนึ่งคือความคิดแบบกิริ (義理) หรือหน้าที่ที่พึง
ปฏิบัติต่อสังคม อันก่อให้เกิดความรู้สึกว่าตนเองต้องทําอะไรสักอย่างเพื่อสังคมส่วนรวม เหมือน
อย่างเช่นกรณีตัวอย่างของคุณอานาอิ เทรุโอะ อาสาสมัครวัย 63 ปี ที่เดินทางไปช่วยเหลือผู้คนเพราะ
ทันทีที่ทราบข่าวความเสียหายที่เกิดขึ้นในพื้นที่ประสบภัยแล้วก็เกิดความรู้สึกขึ้นมาว่าตนเองต้องการ
ทําอะไรซักอย่างเพื่อช่วยเหลือ จนได้ตัดสินใจเข้าร่วมโครงการอาสาสมัครเช่นเดียวกับอาสาสมัครอีก
นับล้านคน
นอกจากนี้ปัจจัยที่ทําให้ผู้คนมีจิตสํานึกที่ดีต่อสาธารณะนั้น ยังต้องการองค่ประกอบอื่นในการ
อธิบาย ได้แก่ แนวคิดกลุ่มนิยม การปฏิบัติแบบคนใน-คนนอก (อุจิ-โซโตะ) โครงสร้างสังคมทา
โกะสึโบะ และยังมีทฤกฎีทางสังคมกาสตร่ที่ได้นํามาประกอบการวิเคราะห่คือ ทฤกฎีโครงสร้าง-หน้าที่
นิยมกับทฤกฎีวัฒนธรรมและบุคลิกภาพ ที่ชี้ให้เห็นว่าพฤติกรรมที่เห็นแก่ผลประโยชน่ของส่วนรวม
เป็นหลักหรือความมีจิตสาธารณะนั้น เป็นพฤติกรรมที่เหมือนกันและถูกปฏิบัติไปในทิกทางเดียวกัน
ของคนส่วนใหญ่ในสังคม ซึ่งทั้งโครงสร้างสังคมอันเป็นเอกลักกณ่และแนวคิดที่กลั่นกรองมาจาก
วัฒนธรรมล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวข้องกัน และช่วยหล่อหลอมให้เกิดความมีจิตสาธารณะร่วมกัน
อย่างไรก็ตาม มีข้อมูลที่น่าสนใจในงานวิจัย ที่ว่า
59
“สิบวันหลังจากเกิดแผ่นดินไหว ได้เริ่มต้นมีรายงานการลักขโมยและลักทรัพย์ในพื้นที่ประสบ
ภัยพิบัติแผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิ เมื่อถึงวันที่ 20 มีนาคม ตารวจจังหวัดมิยะงิได้รับรายงานว่ามีการ
ก่อเหตุลักทรัพย์ขึ้น 250 ครั้ง และสินค้าถูกขโมยไปจากร้านค้ารวมมูลค่า 4.9 ล้านเยน และเงินสด 5.8
ล้านเยน พยานรายงานว่าโจรได้ขโมยเงินสดและสมุดเงินฝากธนาคารจากบ้านที่ถูกทาลาย ฉกชิงทรัพย์
จากร้านค้า และถ่ายน้ามันจากยานพาหนะที่ถูกทิ้งไว้หรือได้รับความเสียหาย” (อ้างอิงข้อมูลจากบทที่ 3
หน้า.....)
ข้อมูลดังกล่าวที่ค้นพบ ชี้ให้เห็นว่าส่วนหนึ่งของสังคมยังมีผู้คนที่ขาดความมีจิตสาธารณะ ไร้
ซึ่งการตระหนักถึงความยากลาบากที่เพื่อนร่วมชาติต้องเผชิญอยู่ในขณะนั้น นับเป็นอีกหนึ่งข้อมูลที่ทา
ให้ผู้วิจัยพบมุมมองใหม่ๆ เกี่ยวกับคนญี่ปุ่น และมองเห็นจุดร่วมที่ว่าแม้จะเป็นสังคมที่มีระเบียบวินัย
และจิตสานึกต่อสาธารณะสูงอย่างประเทศญี่ปุ่นก็ตาม ผู้คนก็ยังคงมีความเป็นปุถุชนในตัวอยู่ ที่บางครั้ง
เมื่อตกอยู่ในสถานการณ์ที่เลวร้าย ก็อาจแสดงด้านที่ไม่ดีออกมาได้ตามสัญชาติญาณของมนุษย์ทั่วไป
ดังนั้น สรุปผลการกึกกาในครั้งนี้คือ ผู้กึกกาได้บรรลุวัตถุประสงค่ในการกึกกาทั้งสองประเด็น
คือสามารถทําความเข้าใจในความแตกต่างระหว่างความเป็นสาธารณะและความเป็นปัจเจกของคน
ญี่ปุ่น รวมถึงสภาพโครงสร้างของสังคมโดยรวมทั่วไป อีกทั้งยังสามารถเชื่อมโยงวัฒนธรรม, วิธีคิด
ของคนญี่ปุ่น เข้ากับโครงสร้างสังคมที่มีผลต่อหรือควบคุมการกระทําของสมาชิกในสังคมผ่าน
กรณีกึกกา
สําหรับการกึกกาครั้งต่อไปหรือหากมีผู้ที่มีความสนใจ อาจนํางานการวิจัยนี้ไปกึกกาเพิ่มเติม
ได้ โดยการนําทฤกฎีหรือแนวคิดเดียวกันไปใช้ในการวิเคราะห่สถานการณ่อื่นๆ ที่เกิดขึ้น หรืออาจมีผู้ที่
มีทฤกฎีเกี่ยวข้องอื่นที่น่าสนใจ สามารถนํามาใช้วิเคราะห่ในกรณีกึกกาเดียวกันได้ ทั้งนี้สําหรับผู้วิจัย
เองนั้น มีความสนใจที่จะกึกกาด้านของสังคมหรือพฤติกรรมของคนส่วนน้อยในญี่ปุ่นที่แตกต่างจาก
พฤติกรรมหลัก ซึ่งสําหรับตัวผู้วิจัยเองนั้น อยากกึกกาประเด็นที่ใกล้เคียงโดยอากัยวิธีการกึกกาแบบ
แจกแบบสอบถามหรือสัมภากณ่คนญี่ปุ่นเพื่อข้อมูลที่ละเอียดและแม่นยํามากขึ้น ในโอกาสต่อไป
60
日本人の公共性に対する意識
事例研究:2011年日本東大震災
第1章
序論
1.1
研究動議
日本人は私事のことより、会社、社会、集団のことを優先する人間だそうだ。日本の倫理
わつじてつろう
学者の和辻哲郎は日本社会は公(おおやけ)を重視し、大きな家のようだと述べた。しかし、
土屋彰久という学者は反対らしい。日本人は公に対する意識が欠如していると土屋が国民の
おさらいと言う教科書に書いてある。土屋が示した意見は一般に見られる日本人のイメージ
と異なるそうだ。日本人の慣習で皆が自動的に責任を守る。(プラディッターヌヲン:19
96)
そして、土屋が述べた意見は和辻との論じた。
さて、日本人は本当に公共意識があるかどうかという問題より、二人の学者が先に言及し
た日本人の『公共意識』とはいったい何であろうか。それに、本研究では、公共意識と日本
人の日常生活はいかに関係するのか、これ以後公共意識のレベルが変化する傾向があるのか
を予測したい。
1.2
目的
1.2.1 日本人の「公」と「私」の相違を明確にする。
1.2.2 日本人の公共意識と日常生活のつながりを理解する。
1.3
研究範囲
日本人の公共意識の研究は経済や政治など様々な分野に及ぶ。だが、本稿は一般概念を中
心に、研究を行いたい。内容は次の通りである。
1.3.1 日本人の「公」と「私」の相違
1.3.2 社会の制度
1.3.3 日本人の日常生活の公共意識― 事例研究;2011年東日本大震災
61
1.4
情報源
1.4.1 日本人の先行研究
1.4.2 日本の学者で書かれた関係する本
1.4.3 タイの学者、日本人と長く関連していたタイ人で書かれた関係する本
1.4.4 インターネット
1.5
研究過程
きょしてき
1.5.1 巨視的な概念を理解するために、参考文献を探す。
1.5.2.問題を設定し、資料を探す。
1.5.3.考察により、日本人の公共意識を定義する。
1.5.4.事例研究を挙げ、トーマス・ホッブスの理論などで分析する。
1.5.5.結論をまとめる。
1.6
研究期間
1.6.1 研究テーマを決め、基本的な情報を調べる
2012年11月1-7日
1.6.2 研究構造を発表し、調整する
2012年11月8-14日
1.6.3 先行研究を調べる
2012年11-12月
1.6.4 第3章の情報を集める
2012年12月20日
-2013年1月10日
1.6.5 分析する
2013年1月11-29日
1.6.6 全体の内容を確認する
2013年1月31日
-2月20日
62
第2章
先行研究
1.「公」と「私」の定義
「公」あるいは「公的」という単語は英語の「Public」で説明されながら、「私」とは時
々「個人」とも置き換えてもよい、意味は「Private」という単語と一致する。さらに、よ
り深く説明すれば、公的は皆で一緒に有するものだ。逆に、私的の場合は誰か個人のもので
ある。)加藤:1999 (
2.公共性の定義
公共性とは大辞林辞典に現れる意味は、「広く社会一般に利害・影響を持つ性質。特定
の集団に限られることなく、社会全体に聞かれていること」である。
公共性の概念は公でもなく、むろん私でもない。だが、これらの区別を越え、社会共存
にかかわり、一般的・共同的・公式的な性格のことをさしている。これ以上の説明はまた各
学者によりそれぞれ違うが、国や冶自体の政府は社会共存の持つ問題を処理するために公共
政策をだした。そして、公共性は経済や政治などの他の概念に関連付ける必要があるのだ。
こうすると、社会経済的公共性や政治的公共性や宗教的公共性など出来上がってくる。)山
川:1999(
3.公共心
公共性と公徳心はつながりがあり、人に公共心を移植には公徳というものが必要なのだ。
まず、公共心と公徳心の意味を上げる。大辞林辞典により、「公共心」とは公共の利益のた
めに尽くそうとする精神ということだ。そして、公徳心は公徳を重んじて守ろうとする精神
という意味が大辞泉辞典で説明される。
日本では公共心を持つ社会人ができるために、皆に幼いころから公徳心の意識を移ってお
く。この役割を担うのは学校である。日本の小学校でも中学校でも「公共心の育成」という
方針で道徳学習が行われる。
63
本稿、和歌山市立紀之川中学校と八戸市立白山台中学校の道徳学習を例として説明に加え
る。だが、ここでは和歌山市立紀之川中学校の道徳学習指導案の一部を見せたい。
日時:平成21年10月28日
学年:1年5組
内容項目-公徳心 :公徳心及び社会連帯の自覚を高め、より良い社会実現に努める。
指導の展開
学習活動
発問を予想される生徒の反応
指導上の留意点
今までの生活を振り返る。
発問:あなたは電車に乗って座
・自由に意見を発表させる
席に座っています。席の前にお
・譲ることがいい行動だと
年寄りが立ちました。あなたな
分かっていても、なかなか
らどうしますか。
行動に移せないことを実感
1.譲ろうと思うけど言い出
すことができない。
2.気づかないふりをして座
っている。
3.恥ずかしくて譲れないで
座ったままでいる。
4.勇気を出して席を譲る。
後、学生の評価も教師の教え方の評価もする。
させる。
64
4.一般的日本社会
日本人は典型的な生活をし、特に集団体か社会で決まっている仕来りならきちんと守って
いる。だから、個人性は団体のメンバーの役割に支配され、私的でなく全体の社会の方が優
先しておく。)プラディット・プラディッターヌヲン:1996(
とにかく、日本においては欧米のように個人の概念を持っているが、独自の文化に基づく
もので個人的・私的の性質は欧米のと異なる。欧米の個人は「Private」 あるいは自分の
ことしか指していないが、日本の個人とは親子、夫婦、兄弟などの具体的な社会関係におけ
る個人である。そして、社会性が個人性より、「個」より「全」、「私」より「公」が優先
された。さらに、私的と公的のことをいうと、精神面にも関わっている。たとえば、私的は
内、本音、裏の考え方にも関連し、また公的ならばその逆に外、タテマエ、表とつながって
いるといわれた。)八木:2000( 日本人には内・外の区別が人によって違うけれど、は
っきりと分けられる。しかし、私的と公的を判別しにくいため、時々公的なものを私的にす
る場合もある。
5.参考理論
5.1 Structural Functionalism by Alfred Radcliffe-Brown と他
各社会は様々構造で組み合わせられる。だから、社会制度を勉強するするには一つ
の構造ではもの足りなく、他の構造を勉強しなければ社会を理解するには無理。例えば、タ
イの政治構造を理解するには、経済、宗教、人間関係のことも必要だと Alfred RadcliffeBrown という学者が述べた。
5.2 Culture and Personality by Margaret Mead と他
人はどんな性格ができるか、それは幼いころの育ては大事だ。もし、子供を皆同じ育成で
育てたら、社会に出る人間も同じ性格なのである。)Margaret Mead: 1927-1930(
65
6.日本社会の構造
日本においては、社会も文化も「ササラ」と「タコツボ」という制度で形成された。ササ
ラ形というのは竹の先を細かく割ったものだ。手のひらにいえば、手首を共通していて、そ
こから指が分れて出ている、そういう型の文化をササラ形というわけである。タコツボとは
こりつ
文字通りそれぞれ孤立したタコツボが並んでいる形だ。日本社会はほとんどタコツボ形だと
言われた。しかし、社会では一つのツボだけでなく、いくつかのツボがあり、お互いに不干
渉なのだ。)丸山:1961(
66
第3章
事例研究
3.1
2011年日本東大震災
3.1.1
がいきょう
概 況 と被害
2011年3月11日に東北を震源として9.0マグニチュードの大地震が起きた。地震
によって高い津波が発生し、場所によりは波高10メートル以上、最高なのは40.1メー
トルの波があった。大規模の被害を受けたのは岩手県と宮城県だった。警察庁が2013年
1月30日に発表が行われたのは、死者は15,880人、重軽傷者は6,132人であっ
た。また、警察庁に告発した行方不明者は2,700人も越えた。
地震と津波で福島第一原子力発電所事故がおき、大きい問題が表れた。火力発電所などで
も損害が出たため、関東地方では電力不足になり、一時的に計画停電が実地された。福島原
子力事故で放射線が広がったため、そこから10-20キロメートル以内に住んでいた市民
は自宅から離れなくてはならなかった。
ところが、びっくりしたものは地震が発生した10日の後、宮城県の警察庁は250件の
とうなん
せいがん
盗難事件を請願された。合わせた価格は10.7百万円だったそうだ。
3.1.2 ボランティアと被災地の人の日記
本論では、現場でボランティア活動を参加した2人の日記、ボランティアセンターの職人
の日記、被災地の人の日記を収集し分析する。それはボランティアからだけの情報かぎらず、
地震後の状態も県民で伝われた。日本語から訳した内容はボランティアーになる動機と感情
のことである。それに、地方の人によって書かれたものはボランティアーに対するありがた
い気持ちと大地震が起きた後の状態に関する話だった。採集したものはこの以下である。
1.2011年10月11日で書かれた和田章子の日記
-ボランティアの経験と動機
-被害者に対する感情
情報源:http://wada.cocolog-nifty.com/blog//21/3122post-9dd.8html
67
第4章
考察
分析は2部に分けられた。
4.1.1 個人、団体、日本社会の構造の連結
日本の社会は様々な構図で立てられているが、ここでは個人性、団体、タコツボ形の社会
構図という点に着目する。分析する前はまず個人的と公的の定期を明らかにする。
公的は英語で「パッブリック」という単語と与え、意味は皆のものだ。また、公的と同じ
ような意味の言葉は公共性である。公共性とは大辞林という国語辞書に載っている意味は、
広く社会一般の利害にかかる性質だ。
一方、個人の概念は英語の「プライベット」と一緒で、意味は公的ではない立場や他人と
関わりない事柄だと考えられた。ところが、和辻哲郎と長野知恵などの何人か学者の理論か
らすると、日本人の個人性は西洋人のように自己中心と指しているではなく、家族、親戚、
夫婦も個人性に含まれる。例えば、夫婦の関係。男の人と女の人が付き合っていて、結婚す
る前に2人の間は男女の私的な関係である。だが、結婚すると、男女の関係は夫婦の形にな
り、私的な関係は皆に広告すると公的な関係になってしまう。この夫婦が家族を作り、子供
がいたら、小団体のような家族ができる。こうして、個人性は公的と公共的から別けられい。
また、この小団体はより大きい団体の一部に加えると言われた。
団体というのは大きさも種も違う。ここでは、国が一番大きい大体として見てほしい。ま
た、その国あるいは大きい団体の中には宗教団体と会社などの様々な種類の社会で組み合わ
せ、日本の社会構造がこうして立てられた。
この集団の制度については、日本の人類学者の長野知恵がこう述べた。日本の社会は人が
自分の役割をじっとするように社会的地位を第一にする。だが、人の個人性の代わりに所属
している団体の方を注目する。
各団体の中の構造は本稿では丸山雅夫のタコツボという制度に基づいて説明する。先行研
究で論及したように、タコツボとは円筒形であり、各社会の会員の地位、分担、規制を定め
る。例を挙げると、会社の制度と同じ。会社の中には社長、部長、課長など色々な部署があ
り、皆はタコツボ制度の下で働くわけだ。このタコツボから移動するのは簡単ではない。も
し、自分の部署から避けようとする人が何人いれば、膨大さに関わらず、他の団体の制度も
68
たいてい一緒だと考える。
さて、タコツボ制度は社会の側面に限らず、文化的にも説明ができると丸山雅夫の理論が
言った。その上、マガレット・ミートによると、子供のころから社会の一般的考え方と移し
始めたら、皆が大人になると同様な動きをするそうだ。だから、文化を代々に残すにも子供
に意識を移植しなくてはならない。
4.1.2 2011年東日本大震災においての日本人の公共性
Alfred Radcliffe-Brown の理論が述べたのは、各社会が様々な構造で組み合わせられる
ため、社会を分析するにも一つばかりか、色々な面で合わせて分析しないといけない。そこ
で、以下の3つの理論を採用する。
1.日本人の「義理」と「人情」
2.Culture and Personality by Margaret Mead
3.丸山雅夫のタコツボ制度
第3章に表した内容を解析すると次のような結果が現れた。まず、日本人は人情という考
えを持っていて、困っている東北地方の市民に対する思いやりがあるので、ボランティアに
なったり、ホテルのロビーを無料で泊まらせたりした。そして、大地震から被害を受けた店
で男の子が自分の欲しいものを取り、お金をきちんと払った。あの子は皆が混乱している内
に盗もうとするならできるのに、しなかった。特にボランティア活動を参加した人数は2年
弱で100万人も越えた。ここから見ると、人情という考え方で人たちの動機に与えたと思
われた。
さらに、人の動機を支えたのは義理だ。義理とは人間関係のしがらみに基づく義務という
ことだ。日本人は義理と人情を持っているから、そのような大変なところで一丸となってし
まう。例えば、東京電力株式会社) TEPCO (の会員の河野さんのことである。河野さんは原子
力発電所の中には放射線で大変危険だと分っているが、自分は会社の社員、社会のメンバー
として協力しなければいけないという考え方があるため、原子力発電所の修理チームを参加
した。河野さんの親もむろん心配があったが、それは息子の決まりだと分っており、国に対
する一つの分担だと理解したから、反対なし行かせた。河野家の考えと行動は義理と人情主
義に影響されたと筆者が判じた。
ところが、被災地の人が書いた状態、例えば、店の前にきちんと並んでいた行列の姿など
はタコツボ制度で分析された。義理人情という意識もあるかもしれないが、本稿は社会的制
69
度の方から見た。もし、皆が慌ていて常軌通りをしなければ、社会は事変になってしまうの
ではないか。タコツボ制度で決められた人の地位、分担などは社会の人に守られなければ、
無意味になってしまい、社会制度は壊すではなかろうか。
さらに、日本人の皆は国が一つのタコツボとして公益を守り、国の制度が倒れないように
協力しなくてはならない。そして、義理人情を持ちながら日本人は上に述べた様々な行動を
行って、国を回復したがるような姿が見せる。
また、こうした日本の社会の制度をより長く保存するには子供に残すほかならない。義理
人情を身に付けておいた子供たちは、社会に出るとワンパターンの円筒形のタコツボ制度に
管理される。
第5章
結論
最初に立てた試論は、2011年東日本大震災の被害者への支援、社会に対する行動は日
本人は個人の公共意識があるということだ。結果は一部だけ当たった。日本人は人情という
文化的思考の上に、他人に思いやりをする。だが、思いやりが行動に変われるのは義理とい
う考え方が必要だ。だから、義理と人情を持っている日本人は小さなことでも、被害者に困
っている社会に助けたかったと思われた。63歳の穴井輝夫さんとボランティアの人数は例
として見られる。
その上、日本人の公共意識を説明するにはタコツボ制度などの本稿に参照した理論も大事
である。皆が日本の文化的な考え方が幼いころから身に付けられ、社会に出るとタコツボ制
度にまた行動を管理される。従って、全体的な社会は同様なパターンで行く。
ところが、公共意識が強いと知られる日本人の中でも社会の枠から出た人の姿も現れた。
本書で参考した窃盗事件のことは日本人の違う側面が分った。日本人だというと、筆者の頭
に浮かんだのは常に素晴らしい面だけだったが、こういうような情報が見つかったのは以外
に驚いた。だけど、それは人間の一面だと思ったらそんなに驚くことは無い。
とすれば、筆者が研究を行う目的は完全に分った。日本人の「公」と「私」の相違も、日
本人の公共意識と日常生活のつながりもすべて明らかにした。
70
บรรณานุกรม
จามะรี เชียงทอง และคณะ) .2548 .(แนวความคิดพื้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมเชียงใหม่ .: ภาควิชา
สังคมวิทยาและมานุกยวิทยา คณะสังคมกาสตร่ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ดํารง ฐานดี) .2545 .(สังคมและวัฒนธรรมญี่ปุ่น . กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
โดอิ ทาเคโอะ).2538กรุงเทพฯ .อะมะเอะ แก่นแท้จิตใจคนญี่ปุ่น .(: มูลนิธิตําราสังคมกาสตร่และ
มนุกยกาสตร่
นิยพรรณ ) .วรรณกิริ (ผลวัฒนะ)2550 .(มานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรมกรุงเทพฯ .:
เอ๊อกซเปอร่เน็ท.
บัณฑิต ประดิกฐานุวงก่) .2539 .(คนญี่ปุ่นคิดอย่างไรกับ ...กรุงเทพฯ: นิตยสารเจแปนเวิร่ล.
ปรียา อิงคาภิรมย่ .(2554) .ญี่ปุ่นบทเรียนหลังคราบน้าตา..... กรุงเทพฯ: อมรินทร่.
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮกุ พ .ก.2554 จาก ,ค้นเมื่อ .(.ป.ป.ม) .http://th.wikipedia.org/wiki/
แผ่นดินไหวและคลื่นสึนามิในโทโฮะกุ_พ.ก._2554
東日本大震災 後の 福島市民生活,
<http://www2.educ.fukushima-u.ac.jp/~abej/ErdB.htm>
(参照2013-01-11)
和田章子(2011)「福島市の「除染ボランティア」に参加しました」
『福興支援ボランティア』<http://wada.cocolog-nifty.com/blog//10/2011post-9dd.8html>
(参照2013-01-11)
71
佐藤由美子(2012)< http://www.iwate-svc.jp/category/sonota >
(参照2013-01-14)
穴井輝男(2011)「63歳の決断」『ボランティアの声を紹介します』
< http://msv3151.c-bosai.jp/?module=blog&eid=19259&blk_id=19257 >
(参照2013-01-14)
全社力被災地支援・災害ボランティア情報(2013)
「災害ボランティアセンターで受け付けたボランティア活動者数の推移(仮集計)」
< http://www.saigaivc.com/>
(参照2013-01-16)
大久保哲子(2011)「全国で一番VC。。。名取市災害VC(ボランティアセンター)」
<http://msv3151.cbosai.jp/?module=blog&eid=26460&blk_id=19257>
(参照2013-01-16)
細川一彦(2007)「公と私の構造」『日本人の公と私―新しい公民論理のために』
< http://homepage2.nifty.com/khosokawa/opinion01b.htm > (参照2012-11-04)
細川一彦(2004)「「公と私」における個人と人権」『オピニアン・公と私』<
http://homepage2.nifty.com/khosokawa/opinion01a.htm#_小泉八雲が伝えた日本人の
「公共心」>
(参照2012-11-07)
日本のカイシャ、いかがなものか「タコツボ社会の構図」『最後に勝つのは「新日本人」だ』
< http://www.ne.jp/asahi/shin/ya/desk/win2/032.htm> (参照2013-01-05)
森田伊都子(2009)「道徳学習指導案」< http://www.wakayama-
wky.ed.jp/kinokawa/moral/091028.pdf> (参照2013-01-27)
八戸市立白山台中学校(2007)「道徳学習指導案」
< http://www.hachinohe.ed.jp/hakusn_j/kounaiken/doutoku-h19/shidouan/h19-1-2.pdf>
(参照2013-01-27)
日本人の公共性に対する意識
事例研究:2011年日本東大震災
第1章
序論
1.1 研究動議
日本人は私事のことより、会社、社会、集団のことを優先する人間だそうだ。日本の倫理学
わつじてつろう
者の和辻哲郎は日本社会は公(おおやけ)を重視し、大きな家のようだと述べた。しかし、土
屋彰久という学者は反対らしい。日本人は公に対する意識が欠如していると土屋が国民のおさ
らいと言う教科書に書いてある。土屋が示した意見は一般に見られる日本人のイメージと異な
るそうだ。日本人の慣習で皆が自動的に責任を守る。(プラディッターヌヲン:1996)
そし
て、土屋が述べた意見は和辻との論じた。
さて、日本人は本当に公共意識があるかどうかという問題より、二人の学者が先に言及した
日本人の『公共意識』とはいったい何であろうか。それに、本研究では、公共意識と日本人の
日常生活はいかに関係するのか、これ以後公共意識のレベルが変化する傾向があるのかを予測
したい。
1.2 目的
1.2.1 日本人の「公」と「私」の相違を明確にする。
1.2.2 日本人の公共意識と日常生活のつながりを理解する。
1.3 研究範囲
日本人の公共意識の研究は経済や政治など様々な分野に及ぶ。だが、本稿は一般概念を中心
に、研究を行いたい。内容は次の通りである。
1.3.1 日本人の「公」と「私」の相違
1.3.2 社会の制度
1.3.3 日本人の日常生活の公共意識― 事例研究;2011年東日本大震災
1.4 情報源
1.4.1 日本人の先行研究
1.4.2 日本の学者で書かれた関係する本
1.4.3 タイの学者、日本人と長く関連していたタイ人で書かれた関係する本
1.4.4 インターネット
1.5 研究過程
きょしてき
1.5.1 巨視的な概念を理解するために、参考文献を探す。
1.5.2.問題を設定し、資料を探す。
1.5.3.考察により、日本人の公共意識を定義する。
1.5.4.事例研究を挙げ、トーマス・ホッブスの理論などで分析する。
1.5.5.結論をまとめる。
1.6 研究期間
1.6.1 研究テーマを決め、基本的な情報を調べる
2012年11月1-7日
1.6.2 研究構造を発表し、調整する
2012年11月8-14日
1.6.3 先行研究を調べる
2012年11-12月
1.6.4 第3章の情報を集める
2012年12月20日
-2013年1月10日
1.6.5 分析する
2013年1月11-29日
1.6.6 全体の内容を確認する
2013年1月31日
-2月20日
第2章
先行研究
1.「公」と「私」の定義
「公」あるいは「公的」という単語は英語の「Public」で説明されながら、「私」とは時々
「個人」とも置き換えてもよい、意味は「Private」という単語と一致する。さらに、より深く
説明すれば、公的は皆で一緒に有するものだ。逆に、私的の場合は誰か個人のものである。(加
藤:1999)
2.公共性の定義
公共性とは大辞林辞典に現れる意味は、「広く社会一般に利害・影響を持つ性質。特定の集
団に限られることなく、社会全体に聞かれていること」である。
公共性の概念は公でもなく、むろん私でもない。だが、これらの区別を越え、社会共存にか
かわり、一般的・共同的・公式的な性格のことをさしている。これ以上の説明はまた各学者に
よりそれぞれ違うが、国や冶自体の政府は社会共存の持つ問題を処理するために公共政策をだ
した。そして、公共性は経済や政治などの他の概念に関連付ける必要があるのだ。こうすると、
社会経済的公共性や政治的公共性や宗教的公共性など出来上がってくる。(山川:1999)
3.公共心
公共性と公徳心はつながりがあり、人に公共心を移植には公徳というものが必要なのだ。ま
ず、公共心と公徳心の意味を上げる。大辞林辞典により、「公共心」とは公共の利益のために
尽くそうとする精神ということだ。そして、公徳心は公徳を重んじて守ろうとする精神という
意味が大辞泉辞典で説明される。
日本では公共心を持つ社会人ができるために、皆に幼いころから公徳心の意識を移っておく。
この役割を担うのは学校である。日本の小学校でも中学校でも「公共心の育成」という方針で
道徳学習が行われる。
本稿、和歌山市立紀之川中学校と八戸市立白山台中学校の道徳学習を例として説明に加える。
だが、ここでは和歌山市立紀之川中学校の道徳学習指導案の一部を見せたい。
日時:平成21年10月28日
学年:1年5組
内容項目-公徳心 :公徳心及び社会連帯の自覚を高め、より良い社会実現に努める。
指導の展開
学習活動
発問を予想される生徒の反応
指導上の留意点
今までの生活を振り返る。
発問:あなたは電車に乗って座席
・自由に意見を発表させる
に座っています。席の前にお年寄
・譲ることがいい行動だと
りが立ちました。あなたならどう
分かっていても、なかなか
しますか。
行動に移せないことを実感
1.譲ろうと思うけど言い出す
させる。
ことができない。
2.気づかないふりをして座っ
ている。
3.恥ずかしくて譲れないで座
ったままでいる。
4.勇気を出して席を譲る。
後、学生の評価も教師の教え方の評価もする。
4.一般的日本社会
日本人は典型的な生活をし、特に集団体か社会で決まっている仕来りならきちんと守ってい
る。だから、個人性は団体のメンバーの役割に支配され、私的でなく全体の社会の方が優先し
ておく。(プラディット・プラディッターヌヲン:1996)
とにかく、日本においては欧米のように個人の概念を持っているが、独自の文化に基づくも
ので個人的・私的の性質は欧米のと異なる。欧米の個人は「Private」 あるいは自分のことし
か指していないが、日本の個人とは親子、夫婦、兄弟などの具体的な社会関係における個人で
ある。そして、社会性が個人性より、「個」より「全」、「私」より「公」が優先された。さ
らに、私的と公的のことをいうと、精神面にも関わっている。たとえば、私的は内、本音、裏
の考え方にも関連し、また公的ならばその逆に外、タテマエ、表とつながっているといわれた。
(八木:2000) 日本人には内・外の区別が人によって違うけれど、はっきりと分けられる。
しかし、私的と公的を判別しにくいため、時々公的なものを私的にする場合もある。
5.参考理論
5.1 Structural Functionalism by Alfred Radcliffe-Brown と他
各社会は様々構造で組み合わせられる。だから、社会制度を勉強するするには一つの構
造ではもの足りなく、他の構造を勉強しなければ社会を理解するには無理。例えば、タイの政
治構造を理解するには、経済、宗教、人間関係のことも必要だと Alfred Radcliffe-Brown と
いう学者が述べた。
5.2 Culture and Personality by Margaret Mead と他
人はどんな性格ができるか、それは幼いころの育ては大事だ。もし、子供を皆同じ育成で育
てたら、社会に出る人間も同じ性格なのである。(Margaret Mead: 1927-1930)
6.日本社会の構造
日本においては、社会も文化も「ササラ」と「タコツボ」という制度で形成された。ササラ
形というのは竹の先を細かく割ったものだ。手のひらにいえば、手首を共通していて、そこか
ら指が分れて出ている、そういう型の文化をササラ形というわけである。タコツボとは文字通
こりつ
りそれぞれ孤立したタコツボが並んでいる形だ。日本社会はほとんどタコツボ形だと言われた。
しかし、社会では一つのツボだけでなく、いくつかのツボがあり、お互いに不干渉なのだ。(丸
山:1961)
第3章
事例研究
3.1 2011年日本東大震災
3.1.1
がいきょう
概 況 と被害
2011年3月11日に東北を震源として9.0マグニチュードの大地震が起きた。地震に
よって高い津波が発生し、場所によりは波高10メートル以上、最高なのは40.1メートル
の波があった。大規模の被害を受けたのは岩手県と宮城県だった。警察庁が2013年1月3
0日に発表が行われたのは、死者は15,880人、重軽傷者は6,132人であった。また、
警察庁に告発した行方不明者は2,700人も越えた。
地震と津波で福島第一原子力発電所事故がおき、大きい問題が表れた。火力発電所などでも
損害が出たため、関東地方では電力不足になり、一時的に計画停電が実地された。福島原子力
事故で放射線が広がったため、そこから10-20キロメートル以内に住んでいた市民は自宅
から離れなくてはならなかった。
ところが、びっくりしたものは地震が発生した10日の後、宮城県の警察庁は250件の
とうなん
せいがん
盗難事件を請願された。合わせた価格は10.7百万円だったそうだ。
3.1.2 ボランティアと被災地の人の日記
本論では、現場でボランティア活動を参加した2人の日記、ボランティアセンターの職人の
日記、被災地の人の日記を収集し分析する。それはボランティアからだけの情報かぎらず、地
震後の状態も県民で伝われた。日本語から訳した内容はボランティアーになる動機と感情のこ
とである。それに、地方の人によって書かれたものはボランティアーに対するありがたい気持
ちと大地震が起きた後の状態に関する話だった。採集したものはこの以下である。
1.2011年10月11日で書かれた和田章子の日記
-ボランティアの経験と動機
-被害者に対する感情
情報源:http://wada.cocolog-nifty.com/blog/2011/10/post-9dd8.html
2.
第4章
考察
分析は2部に分けられた。
4.1.1 個人、団体、日本社会の構造の連結
日本の社会は様々な構図で立てられているが、ここでは個人性、団体、タコツボ形の社会構
図という点に着目する。分析する前はまず個人的と公的の定期を明らかにする。
公的は英語で「パッブリック」という単語と与え、意味は皆のものだ。また、公的と同じよ
うな意味の言葉は公共性である。公共性とは大辞林という国語辞書に載っている意味は、広く
社会一般の利害にかかる性質だ。
一方、個人の概念は英語の「プライベット」と一緒で、意味は公的ではない立場や他人と関
わりない事柄だと考えられた。ところが、和辻哲郎と長野知恵などの何人か学者の理論からす
ると、日本人の個人性は西洋人のように自己中心と指しているではなく、家族、親戚、夫婦も
個人性に含まれる。例えば、夫婦の関係。男の人と女の人が付き合っていて、結婚する前に2
人の間は男女の私的な関係である。だが、結婚すると、男女の関係は夫婦の形になり、私的な
関係は皆に広告すると公的な関係になってしまう。この夫婦が家族を作り、子供がいたら、小
団体のような家族ができる。こうして、個人性は公的と公共的から別けられい。また、この小
団体はより大きい団体の一部に加えると言われた。
団体というのは大きさも種も違う。ここでは、国が一番大きい大体として見てほしい。また、
その国あるいは大きい団体の中には宗教団体と会社などの様々な種類の社会で組み合わせ、日
本の社会構造がこうして立てられた。
この集団の制度については、日本の人類学者の長野知恵がこう述べた。日本の社会は人が自
分の役割をじっとするように社会的地位を第一にする。だが、人の個人性の代わりに所属して
いる団体の方を注目する。
各団体の中の構造は本稿では丸山雅夫のタコツボという制度に基づいて説明する。先行研究
で論及したように、タコツボとは円筒形であり、各社会の会員の地位、分担、規制を定める。
例を挙げると、会社の制度と同じ。会社の中には社長、部長、課長など色々な部署があり、皆
はタコツボ制度の下で働くわけだ。このタコツボから移動するのは簡単ではない。もし、自分
の部署から避けようとする人が何人いれば、膨大さに関わらず、他の団体の制度もたいてい一
緒だと考える。
さて、タコツボ制度は社会の側面に限らず、文化的にも説明ができると丸山雅夫の理論が言
った。その上、マガレット・ミートによると、子供のころから社会の一般的考え方と移し始め
たら、皆が大人になると同様な動きをするそうだ。だから、文化を代々に残すにも子供に意識
を移植しなくてはならない。
4.1.2 2011年東日本大震災においての日本人の公共性
Alfred Radcliffe-Brown の理論が述べたのは、各社会が様々な構造で組み合わせられるため、
社会を分析するにも一つばかりか、色々な面で合わせて分析しないといけない。そこで、以下
の3つの理論を採用する。
1.日本人の「義理」と「人情」
2.Culture and Personality by Margaret Mead
3.丸山雅夫のタコツボ制度
第3章に表した内容を解析すると次のような結果が現れた。まず、日本人は人情という考え
を持っていて、困っている東北地方の市民に対する思いやりがあるので、ボランティアになっ
たり、ホテルのロビーを無料で泊まらせたりした。そして、大地震から被害を受けた店で男の
子が自分の欲しいものを取り、お金をきちんと払った。あの子は皆が混乱している内に盗もう
とするならできるのに、しなかった。特にボランティア活動を参加した人数は2年弱で100
万人も越えた。ここから見ると、人情という考え方で人たちの動機に与えたと思われた。
さらに、人の動機を支えたのは義理だ。義理とは人間関係のしがらみに基づく義務というこ
とだ。日本人は義理と人情を持っているから、そのような大変なところで一丸となってしまう。
例えば、東京電力株式会社 (TEPCO) の会員の河野さんのことである。河野さんは原子力発電所の
中には放射線で大変危険だと分っているが、自分は会社の社員、社会のメンバーとして協力し
なければいけないという考え方があるため、原子力発電所の修理チームを参加した。河野さん
の親もむろん心配があったが、それは息子の決まりだと分っており、国に対する一つの分担だ
と理解したから、反対なし行かせた。河野家の考えと行動は義理と人情主義に影響されたと筆
者が判じた。
ところが、被災地の人が書いた状態、例えば、店の前にきちんと並んでいた行列の姿などは
タコツボ制度で分析された。義理人情という意識もあるかもしれないが、本稿は社会的制度の
方から見た。もし、皆が慌ていて常軌通りをしなければ、社会は事変になってしまうのではな
いか。タコツボ制度で決められた人の地位、分担などは社会の人に守られなければ、無意味に
なってしまい、社会制度は壊すではなかろうか。
さらに、日本人の皆は国が一つのタコツボとして公益を守り、国の制度が倒れないように協
力しなくてはならない。そして、義理人情を持ちながら日本人は上に述べた様々な行動を行っ
て、国を回復したがるような姿が見せる。
また、こうした日本の社会の制度をより長く保存するには子供に残すほかならない。義理人
情を身に付けておいた子供たちは、社会に出るとワンパターンの円筒形のタコツボ制度に管理
される。
第5章
結論
最初に立てた試論は、2011年東日本大震災の被害者への支援、社会に対する応じる行動
は日本国民が公共性があるということだ。結果は一部だけ当たった。たいていの日本人は社会
制度にも文化的思考にも幼いのころから移植されるから、社会の全体は同様なパターンで行く。
しかし、窃盗の事件の情報をもとに、今回の結論は事例研究で分ったことはほとんどの日本
人は公共性があるが、日本国民の皆は公共性を持っているとは言えない。